ชื่อเรื่อง :

ชื่อไฟล์ : แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับจ้างเหมาจัดเตรียมสถานที่โครงการแข่งขันฟุตซอล file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับจ้างเหมาจัดเตรียมสถานที่โครงการแข่งขันฟุตซอล ../add_file/แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับจ้างเหมาจัดเตรียมสถานที่โครงการแข่งขันฟุตซอล
ชื่อไฟล์ : ตัวอย่างเอกสาร online file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: ตัวอย่างเอกสาร online ../add_file/ตัวอย่างเอกสาร online
ชื่อไฟล์ : ตัวอย่างเอกสาร online file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: ตัวอย่างเอกสาร online ../add_file/ตัวอย่างเอกสาร online
ชื่อไฟล์ : ข้อมูลระบบ file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: ข้อมูลระบบ ../add_file/ข้อมูลระบบ
ชื่อไฟล์ : บทความใหม่ file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: บทความใหม่ ../add_file/บทความใหม่
ชื่อไฟล์ : ตัวอย่างเอกสาร online file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: ตัวอย่างเอกสาร online ../add_file/ตัวอย่างเอกสาร online
ชื่อไฟล์ : {$Duration:1200,$Opacity:2} file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: {$Duration:1200,$Opacity:2} ../add_file/{$Duration:1200,$Opacity:2}
ชื่อไฟล์ : FM5StIFSun31114.jpg file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์ :
องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ยโสธร
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ : ขอข้อมูล file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: ขอข้อมูล ../add_file/ขอข้อมูล
ชื่อไฟล์ : เข้ามาเยี่ยมชมครับ file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: เข้ามาเยี่ยมชมครับ ../add_file/เข้ามาเยี่ยมชมครับ
ชื่อไฟล์ :

รอปรับปรุง ใหม่

file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

รอปรับปรุง ใหม่

../add_file/

รอปรับปรุง ใหม่


ชื่อไฟล์ :

รอปรับปรุง

file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

รอปรับปรุง

../add_file/

รอปรับปรุง


ชื่อไฟล์ : w3-animate-opacity file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: w3-animate-opacity ../add_file/w3-animate-opacity
ชื่อไฟล์ :

รอปรับปรุง

file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

รอปรับปรุง

../add_file/

รอปรับปรุง


ชื่อไฟล์ :

คำถาม : อยากทราบประวัติของตำบลพระเสาร์
ตอบ : ประวัติความเป็นมาโดยย่อของบ้านพระเสาร์

          บ้านพระเสาร์   เดิมเป็นบ้านเก่าแก่ของขอม  (เขมร)  มาตั้งภูลำเนาอยู่เป็นระยะเวลาหลายร้อยปี  ขอมก็ได้อพยพหนีไปอยู่แห่งใหม่  มีภาชนะต่างๆ เช่นกระปุกปั้น  หม้อ  ไห  ขุดบึง คูณดินเป็นโนน  ขุดครองสิม  หนองปู่ตา เป็นหลักฐาน  ต่อมามีชนอยู่  2กลุ่ม คือ 

         1. อพยพมาจากศรีภูมิ   (สุวรรณภูมิ)

       2. พวกยือ  (ส่วย)  อพยพมาจากศรีษะเกษ บ้านโพนข่า  โพนวัว ชน  2  กลุ่มได้รวมตัวกันจัดตั้งวัดขึ้นที่โนนหนองสิม  เป็นระยะเวลามานาน  1,000  กว่าปี  ต่อมามีเจ้าวัดชื่อ  หลวงพ่อมุม  มีชื่อเล่นว่าหลวงพ่อขี้เถ้าได้พาพระสงมาถางไร่  เพื่อปลูกมันเทศ   มันแกวหลวงพ่อก็เลยขุดบ่อน้ำ  พระสงฆ์ก็พากันอพยพมาสร้างกุฏิพออยู่ได้  ชาวบ้านเมื่อเห็นพระสงฆ์อพยพมาต่างก็พากันอพยพมาอยู่ด้วย

        ในสมัยนั้นได้ข่าวว่า  จังหวัดพนมไพรได้ก่อสร้างองค์พระธาตุขึ้น  พระสงฆ์และประชาชนจำนวนมากได้เดินทางผ่านสถานที่หมู่บ้านต่างๆ  จุดประสงค์ก็เพื่อนำปัจจัยสิ่งของอันมีค่าดังกล่าวไปสักการบูชาและบรรจุไว้กับองค์พระธาตุ

        ขณะนั้น บ้านพระเสาร์ยังไม่มีชื่อบ้านเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง  ชาวบ้านจำนวน  2  กลุ่ม จึงได้มาประชุมกันว่าจะตั้งชื่อหมู่บ้านว่าอย่างไรดี  เลยมีความคิดขึ้นว่า    พระสงฆ์ได้ธุดงค์มา  “เซา” คำว่า   “เซา” เป็นภาษาอิสานแปลว่า “พักผ่อน” จึงได้ตกลงกันให้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า  ”บ้านพระเซา” ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นบ้านพระเสาร์ 
            นานมาแล้วมีคณะสงฆ์จำนวน 500 รูป พร้อมญาติโยมจำนวนมากที่อพยพมาจากบ้านโพนข่า โพนงัว จังหวัดศรีสะเกษ และอพยพมาจากสุวรรณภูมิ มารวมกันเพื่อที่จะเดินทาง โดยได้นำก้อนหินศิลาทรายพร้อมด้วยเงินทองโดยการนำของหลวงปู่ท้าวไปร่วมก่อสร้างพระธาตุพนม (จังหวัดนครพนม ปัจจุบัน) แต่การเดินทางในครั้งนั้นไม่มีรถยนต์ ใช้วัวเทียมเกวียนและใช้คนหาบหามช่วยเหลือกัน ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น ตื่นเช้าก็ออกเดินทางต่อไป ซึ่งในขณะนั้นได้ออกเดินทางจากบ้านประสิว (บ้านคูเมือง ตำบลคูเมืองในปัจจุบัน) ตอนเช้า หลวงปู่ท้าวได้พาคณะสงฆ์ตลอดญาติโยมออกจากที่พักและเดินทางมาพักที่โนนหนองน้ำ เพราะเป็นเวลาพลบค่ำพอดี ตลอดที่พักแห่งนี้ หลวงปู่ท้าวได้ดูสภาพรอบๆ หนองน้ำแล้วเป็นที่เหมาะแก่การตั้งวัดและหมู่บ้าน จึงได้ร่วมปรึกษาหารือกันว่า เมื่อเรามาพบสถานที่อุดมสมบูรณ์แล้วเราควรจะสร้างวัดและตั้งบ้านเรือนให้ญาติโยมได้อาศัย พร้อมสถานที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์ทำไปจนถึงลูกหลานก็ใช้ไม่หมด  จึงได้พร้อมกันดำเนินการก่อสร้างวัดและสร้างหมู่บ้าน ซึ่งสาเหตุมาจากในขณะที่ปรึกษาหารืออยู่นั้นได้ข่าวจากคณะที่เดินทางไปก่อนหน้านี้ว่า การก่อสร้างพระธาตุพนมได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้นำหินศิลาทรายและวัตถุที่นำมานั้น นำมารวมกันแล้วสร้างเป็นวัดขึ้นที่โนนน้ำแห่งนั้น (ปัจจุบันคือที่ก่อตั้งวัดพระธาตุบุญตา) ส่วนญาติโยมที่ตามมาก็ขอให้เอาไม้บริเวณนั้น ไปสร้างที่อยู่อาศัย โดยมีการแบ่งกันเป็นคุ้มๆ จำนวน 7 คุ้ม เพื่อที่จะดูแลรักษาร่วมกัน เพราะช่วงที่อพยพมาบางแห่งก็ถูกโจรขโมยสิ่งของที่นำมา หลวงปู่ท้าวจึงให้อยู่รวมกันเป็นคุ้มๆ ดังนี้ 1. คุ้มหวงแหน  2. คุ้มโนนขวา  3. คุ้มโนนตาล  4. คุ้มขี้หมา  5. คุ้มโนนทัน  6. คุ้มโนนโพธิ์  7. คุ้มโนนขี้เหล็ก  และตั้งชื่อบ้านขึ้นว่า  บ้านพระเซา  ในขณะนั้นยังไม่มีการเลือกผู้ใหญ่บ้านและต่อมาได้ขอตั้งหมู่บ้าน ชื่อว่าบ้านพระเซา  ทางอำเภอจึงได้แต่งตั้งตามที่ขอไป เป็นบ้านพระเซา หมู่ที่ 1 และโนนรอบๆบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านพระเซา ได้มีกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ที่ตามมาทีหลัง ก็ได้หยุดตั้งบ้านเรือน และได้ขอตั้งเป็นหมู่บ้านเพิ่มอีก จำนวน 6 หมู่บ้าน ดังนี้1. บ้านพระเซา  2. บ้านปลาปึ่ง  3. บ้านโนนยาง  4. บ้านขาทราย  5. บ้านโนนงิ้ว  6. บ้านหัวดง  7. บ้านแดง
            บ้านพระเซาหลังจากที่ได้ขอตั้งหมู่บ้านแล้ว ทางราชการได้แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้าน โดยมีนายเบ้า     เวชจำปา เป็นผู้ใหญ่บ้าน และต่อมาได้มีการเลือกบ้านพระเซา เป็นตำบลพระเซา โดยนายเบ้า  เวชจำปา เป็นกำนันตำบลพระเซา โดยเป็นคนแรกของตำบล เมื่อปี พ.ศ. ........... และต่อมาได้มีการเลือกกำนันตำบลพระเซา  โดยมีนายสังข์  พวงพันธ์ เป็นกำนันคนที่สอง  นายพรหม   โสระมรรค เป็นกำนันคนที่สาม  ในช่วงที่นายพรหม  โสระมรรค ทำหน้าที่เป็นกำนั้น นั้น  การเรียกชื่อตำบลพระเซา ก็ได้เปลี่ยนเป็นตำบลพระเสาร์  ตามที่ชาวบ้านเรียกชื่อมาตามลำดับ นายมนู  ก้อนคำ เป็นกำนันคนที่สี่ นายผ่าน  วิชาพูล  เป็นกำนันคนที่ห้า  นายออน  ธรรมรักษ์  เป็นกำนันคนที่หก นายสมปอง  ผันผาย  เป็นกำนันคนที่เจ็ด  และนายชัยวัฒน์  ตะเคียน  เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ จนถึงปัจจุบัน
            บ้านพระเสาร์ ในช่วงที่กำนันผ่าน  วิชาพูล ดำรงตำแหน่งนั้น ได้ขอแยกหมู่บ้านพระเสาร์ ออกเป็นหมู่ที่ 8 ทางราชการจึงอนุมัติให้แยกได้  โดยนายหาญ  สิงห์คำ ได้เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 และมีนายประดิษฐ์  โสสะ เป็นผู้ใหญ่บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 (คนปัจจุบัน)

 
ด้านการปกครอง

              ตำบลพระเสาร์ เป็นตำบลติดเขตของจังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดศรีสะเกษ มีเส้นทางการคมนาคมเชื่อมกันตลอดและการสัญจรไปมาสะดวก  ถึงจะเป็นตำบลที่อยู่แนวเขตการติดต่อของสองจังหวัด ทำให้ประชาชนของตำบลพระเสาร์ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การค้าขาย ความสัมพันธ์ด้านการศึกษา การพัฒนา การประกอบอาชีพ ถือได้ว่าตำบลพระเสาร์ ได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ ดีขึ้นตามลำดับ ทั้งอุปนิสัยของประชาชน มีการเสียสละ อ่อนน้อมถ่อมตน คบง่าย ไม่ถือตัว และพร้อมเป็นมิตรกับทุกชุมชน
            ในช่วงปี 2535 ทางราชการได้ให้อำนาจของตำบลพระเสาร์ ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง โดยที่กำนันตำบลพระเสาร์ และผู้ใหญ่บ้านพร้อมด้วยผู้แทนของชาวบ้านที่เลือกเข้ามาเป็นคณะกรรมการสภาตำบล  หมู่บ้านละ 1 คน  เข้ามาทำหน้าที่แทนชุมชน เพื่อวางแผนการพัฒนาตำบลของตัวเองให้ได้รับความเจริญ ทัดเทียมตำบลข้างเคียง โดยท่านนายอำเภอนั้น คอยกำกับดูแลร่วมกับพัฒนาการอำเภอ เป็น  พี่เลี้ยงให้  ช่วงนายออน  ธรรมรักษ์ เป็นกำนัน และทำหน้าที่เป็นประธานคณะสภาตำบล โดยทำหน้าที่คราวละ 4 ปี  ก็ให้มีการเลือกผู้แทนหรือผู้ทรงคุณวุฒิ เข้ามาหมู่บ้านละ 1 คน ร่วมกับผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน แพทย์ประจำตำบล 1 คน ร่วมเป็นคณะสภาตำบล มีนายพยงค์  โสภา  ตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนบ้านพระเสาร์ ทำหน้าที่เลขานุการ และต่อมานายออน  ธรรมรักษ์ ได้ครบวาระการเป็นกำนัน ชาวบ้านได้เลือกนายสมปอง  ผันผาย เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ต่อ และได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการบริหาร ในปี พ.ศ. 2540  - 11 พ.ค. 2544 โดยมีนายธำรง เติมทรัพย์ ครูใหญ่โรงเรียนบ้านพระเสาร์ทำหน้าที่เป็นเลขาฯ และต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงจากสภาตำบล เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – 2552 และได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบลพระเสาร์ เข้ามาเป็นตัวแทนชาวบ้านมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ พร้อมได้ดำเนินการเลือก นายแพงศรี  แสนโคตร เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ เป็นผู้บริหาร พร้อมมีปลัดอรุณรัชช์  พรมนอก เป็นเลขานุการ  ทำให้ตำบลพระเสาร์ได้รับความเจริญในทุกๆด้าน ประชาชนอยู่ดี เป็นสุข การศึกษาก้าวหน้า ประชาชนมีอาชีพ สร้างรายได้สู่ครอบครัว  ดังคำขวัญตำบลพระเสาร์ ที่ว่า
                                    พระธาตุบุญตางามเด่น                     สงบเย็นหนองบัวแดง
                      ธรรมชาติแหล่งฝูงลิง                                     งามยิ่งผ้าไหมไทย
                     ฝักใฝ่สัจจะธรรม                                            ก้าวล้ำเศรษฐกิจ
                     ข้าวขาวหอมมะลิ                                           ประเพณีแห่บั้งไฟ
 
            ตำบลพระเสาร์  มีสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สักการะของชุมชนและผู้พบเห็น คือพระธาตุบุญตาที่วัดพระธาตุบุญตา และทุกปีชาวบ้านพระเสาร์ทั้ง 2 หมู่บ้าน ร่วมกับชุมชนต่างๆ จัดงานนมัสการ  พระธาตุบุญตาทุกปี และสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งที่บ้านปลาปึ่ง ก่อนจะถึงบ้านพระเสาร์ยังมีฝูงลิงซึ่งถือได้ว่าตำบลพระเสาร์มีตำบลในเขตอำเภอมหาชนะชัย ที่มีฝูงลิงอยู่เป็นจำนวนมาก และองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้จัดงานประเพณีเลี้ยงโต๊ะจีนลิง ซึ่งถือเป็นอีกรูปแบบหนึ่งในการอนุรักษ์เชิงท่องเที่ยวของตำบลพระเสาร์ ส่วนอีกสถานที่แห่งหนึ่ง คือ วัดป่าหนองบัวแดง ซึ่งตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 บ้าน    พระเสาร์  ซึ่งเป็นวัดสายวัดหนองป่าพง  สาขาที่ 140 เป็นสถานที่ที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลได้จัดงานปฏิบัติธรรมในทุกๆ ปี  อีกทั้งปัจจุบัน ทางวัดได้ก่อสร้างอุโบสถสองชั้น ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุโบสถที่มีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง
            ในด้านทรัพยากรธรรมชาติ  ในเขตตำบลพระเสาร์มีป่าสงวนอยู่ในพื้นที่ มีเนื้อที่พันกว่าไร่ ซึ่งภายในป่าสงวนถือเป็นป่าเศรษฐกิจของชุมชน โดยในหน้าแล้งชาวบ้านก็ออกหาแมลงขาย  หน้าฝนก็พากันเก็บเห็ดมาขายซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านได้เป็นอย่างดี และชาวบ้านในเขตตำบลพระเสาร์ได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล จัดกิจกรรมปลูกป่าเพื่อทดแทนป่าที่ตาย เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและช่วยกันดูแลผืนป่าแห่งนี้ เป็นอย่างดี ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก็ได้สนับสนุนงบประมาณในการดูแล บำรุงรักษาทุกปี ตลอดจนการประสานงานฝ่ายปกครองตำบลพระเสาร์ทุกหมู่บ้านและส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การสนับสนุน ดูแลรักษาป่า ทั้งระดับอำเภอ จังหวัด และระดับกรม ตามลำดับ 

คำถาม : อยากทราบวิสัยทัศน์ของ อบต.
ตอบ :  “สาธารณูปโภคก้าวไกล ใส่ใจการคมนาคม อุดมด้วยแหล่งน้ำ งามล้ำประเพณี สู่วิถีความพอเพียง”

 

คำถาม : สามารถติดต่อได้ทางช่องทางใดบ้าง
ตอบ : 1. สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย
               จังหวัดยโสธร

           2. ทาง https://www.phrasao.go.th
           3. ทาง เพจ facebook องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ 
               
https://www.facebook.com/1784040691908638/
           4. ทาง ไลน์ 
https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9
           5. โทรศัพท์/โทรสาร 0 4597 0290

 

คำถาม : อยากทราบประวัติของตำบลพระเสาร์
ตอบ : ประวัติความเป็นมาโดยย่อของบ้านพระเสาร์

          บ้านพระเสาร์   เดิมเป็นบ้านเก่าแก่ของขอม  (เขมร)  มาตั้งภูลำเนาอยู่เป็นระยะเวลาหลายร้อยปี  ขอมก็ได้อพยพหนีไปอยู่แห่งใหม่  มีภาชนะต่างๆ เช่นกระปุกปั้น  หม้อ  ไห  ขุดบึง คูณดินเป็นโนน  ขุดครองสิม  หนองปู่ตา เป็นหลักฐาน  ต่อมามีชนอยู่  2กลุ่ม คือ 

         1. อพยพมาจากศรีภูมิ   (สุวรรณภูมิ)

       2. พวกยือ  (ส่วย)  อพยพมาจากศรีษะเกษ บ้านโพนข่า  โพนวัว ชน  2  กลุ่มได้รวมตัวกันจัดตั้งวัดขึ้นที่โนนหนองสิม  เป็นระยะเวลามานาน  1,000  กว่าปี  ต่อมามีเจ้าวัดชื่อ  หลวงพ่อมุม  มีชื่อเล่นว่าหลวงพ่อขี้เถ้าได้พาพระสงมาถางไร่  เพื่อปลูกมันเทศ   มันแกวหลวงพ่อก็เลยขุดบ่อน้ำ  พระสงฆ์ก็พากันอพยพมาสร้างกุฏิพออยู่ได้  ชาวบ้านเมื่อเห็นพระสงฆ์อพยพมาต่างก็พากันอพยพมาอยู่ด้วย

        ในสมัยนั้นได้ข่าวว่า  จังหวัดพนมไพรได้ก่อสร้างองค์พระธาตุขึ้น  พระสงฆ์และประชาชนจำนวนมากได้เดินทางผ่านสถานที่หมู่บ้านต่างๆ  จุดประสงค์ก็เพื่อนำปัจจัยสิ่งของอันมีค่าดังกล่าวไปสักการบูชาและบรรจุไว้กับองค์พระธาตุ

        ขณะนั้น บ้านพระเสาร์ยังไม่มีชื่อบ้านเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง  ชาวบ้านจำนวน  2  กลุ่ม จึงได้มาประชุมกันว่าจะตั้งชื่อหมู่บ้านว่าอย่างไรดี  เลยมีความคิดขึ้นว่า    พระสงฆ์ได้ธุดงค์มา  “เซา” คำว่า   “เซา” เป็นภาษาอิสานแปลว่า “พักผ่อน” จึงได้ตกลงกันให้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า  ”บ้านพระเซา” ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นบ้านพระเสาร์ 
            นานมาแล้วมีคณะสงฆ์จำนวน 500 รูป พร้อมญาติโยมจำนวนมากที่อพยพมาจากบ้านโพนข่า โพนงัว จังหวัดศรีสะเกษ และอพยพมาจากสุวรรณภูมิ มารวมกันเพื่อที่จะเดินทาง โดยได้นำก้อนหินศิลาทรายพร้อมด้วยเงินทองโดยการนำของหลวงปู่ท้าวไปร่วมก่อสร้างพระธาตุพนม (จังหวัดนครพนม ปัจจุบัน) แต่การเดินทางในครั้งนั้นไม่มีรถยนต์ ใช้วัวเทียมเกวียนและใช้คนหาบหามช่วยเหลือกัน ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น ตื่นเช้าก็ออกเดินทางต่อไป ซึ่งในขณะนั้นได้ออกเดินทางจากบ้านประสิว (บ้านคูเมือง ตำบลคูเมืองในปัจจุบัน) ตอนเช้า หลวงปู่ท้าวได้พาคณะสงฆ์ตลอดญาติโยมออกจากที่พักและเดินทางมาพักที่โนนหนองน้ำ เพราะเป็นเวลาพลบค่ำพอดี ตลอดที่พักแห่งนี้ หลวงปู่ท้าวได้ดูสภาพรอบๆ หนองน้ำแล้วเป็นที่เหมาะแก่การตั้งวัดและหมู่บ้าน จึงได้ร่วมปรึกษาหารือกันว่า เมื่อเรามาพบสถานที่อุดมสมบูรณ์แล้วเราควรจะสร้างวัดและตั้งบ้านเรือนให้ญาติโยมได้อาศัย พร้อมสถานที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์ทำไปจนถึงลูกหลานก็ใช้ไม่หมด  จึงได้พร้อมกันดำเนินการก่อสร้างวัดและสร้างหมู่บ้าน ซึ่งสาเหตุมาจากในขณะที่ปรึกษาหารืออยู่นั้นได้ข่าวจากคณะที่เดินทางไปก่อนหน้านี้ว่า การก่อสร้างพระธาตุพนมได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้นำหินศิลาทรายและวัตถุที่นำมานั้น นำมารวมกันแล้วสร้างเป็นวัดขึ้นที่โนนน้ำแห่งนั้น (ปัจจุบันคือที่ก่อตั้งวัดพระธาตุบุญตา) ส่วนญาติโยมที่ตามมาก็ขอให้เอาไม้บริเวณนั้น ไปสร้างที่อยู่อาศัย โดยมีการแบ่งกันเป็นคุ้มๆ จำนวน 7 คุ้ม เพื่อที่จะดูแลรักษาร่วมกัน เพราะช่วงที่อพยพมาบางแห่งก็ถูกโจรขโมยสิ่งของที่นำมา หลวงปู่ท้าวจึงให้อยู่รวมกันเป็นคุ้มๆ ดังนี้ 1. คุ้มหวงแหน  2. คุ้มโนนขวา  3. คุ้มโนนตาล  4. คุ้มขี้หมา  5. คุ้มโนนทัน  6. คุ้มโนนโพธิ์  7. คุ้มโนนขี้เหล็ก  และตั้งชื่อบ้านขึ้นว่า  บ้านพระเซา  ในขณะนั้นยังไม่มีการเลือกผู้ใหญ่บ้านและต่อมาได้ขอตั้งหมู่บ้าน ชื่อว่าบ้านพระเซา  ทางอำเภอจึงได้แต่งตั้งตามที่ขอไป เป็นบ้านพระเซา หมู่ที่ 1 และโนนรอบๆบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านพระเซา ได้มีกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ที่ตามมาทีหลัง ก็ได้หยุดตั้งบ้านเรือน และได้ขอตั้งเป็นหมู่บ้านเพิ่มอีก จำนวน 6 หมู่บ้าน ดังนี้1. บ้านพระเซา  2. บ้านปลาปึ่ง  3. บ้านโนนยาง  4. บ้านขาทราย  5. บ้านโนนงิ้ว  6. บ้านหัวดง  7. บ้านแดง
            บ้านพระเซาหลังจากที่ได้ขอตั้งหมู่บ้านแล้ว ทางราชการได้แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้าน โดยมีนายเบ้า     เวชจำปา เป็นผู้ใหญ่บ้าน และต่อมาได้มีการเลือกบ้านพระเซา เป็นตำบลพระเซา โดยนายเบ้า  เวชจำปา เป็นกำนันตำบลพระเซา โดยเป็นคนแรกของตำบล เมื่อปี พ.ศ. ........... และต่อมาได้มีการเลือกกำนันตำบลพระเซา  โดยมีนายสังข์  พวงพันธ์ เป็นกำนันคนที่สอง  นายพรหม   โสระมรรค เป็นกำนันคนที่สาม  ในช่วงที่นายพรหม  โสระมรรค ทำหน้าที่เป็นกำนั้น นั้น  การเรียกชื่อตำบลพระเซา ก็ได้เปลี่ยนเป็นตำบลพระเสาร์  ตามที่ชาวบ้านเรียกชื่อมาตามลำดับ นายมนู  ก้อนคำ เป็นกำนันคนที่สี่ นายผ่าน  วิชาพูล  เป็นกำนันคนที่ห้า  นายออน  ธรรมรักษ์  เป็นกำนันคนที่หก นายสมปอง  ผันผาย  เป็นกำนันคนที่เจ็ด  และนายชัยวัฒน์  ตะเคียน  เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ จนถึงปัจจุบัน
            บ้านพระเสาร์ ในช่วงที่กำนันผ่าน  วิชาพูล ดำรงตำแหน่งนั้น ได้ขอแยกหมู่บ้านพระเสาร์ ออกเป็นหมู่ที่ 8 ทางราชการจึงอนุมัติให้แยกได้  โดยนายหาญ  สิงห์คำ ได้เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 และมีนายประดิษฐ์  โสสะ เป็นผู้ใหญ่บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 (คนปัจจุบัน)

 
ด้านการปกครอง

              ตำบลพระเสาร์ เป็นตำบลติดเขตของจังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดศรีสะเกษ มีเส้นทางการคมนาคมเชื่อมกันตลอดและการสัญจรไปมาสะดวก  ถึงจะเป็นตำบลที่อยู่แนวเขตการติดต่อของสองจังหวัด ทำให้ประชาชนของตำบลพระเสาร์ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การค้าขาย ความสัมพันธ์ด้านการศึกษา การพัฒนา การประกอบอาชีพ ถือได้ว่าตำบลพระเสาร์ ได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ ดีขึ้นตามลำดับ ทั้งอุปนิสัยของประชาชน มีการเสียสละ อ่อนน้อมถ่อมตน คบง่าย ไม่ถือตัว และพร้อมเป็นมิตรกับทุกชุมชน
            ในช่วงปี 2535 ทางราชการได้ให้อำนาจของตำบลพระเสาร์ ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง โดยที่กำนันตำบลพระเสาร์ และผู้ใหญ่บ้านพร้อมด้วยผู้แทนของชาวบ้านที่เลือกเข้ามาเป็นคณะกรรมการสภาตำบล  หมู่บ้านละ 1 คน  เข้ามาทำหน้าที่แทนชุมชน เพื่อวางแผนการพัฒนาตำบลของตัวเองให้ได้รับความเจริญ ทัดเทียมตำบลข้างเคียง โดยท่านนายอำเภอนั้น คอยกำกับดูแลร่วมกับพัฒนาการอำเภอ เป็น  พี่เลี้ยงให้  ช่วงนายออน  ธรรมรักษ์ เป็นกำนัน และทำหน้าที่เป็นประธานคณะสภาตำบล โดยทำหน้าที่คราวละ 4 ปี  ก็ให้มีการเลือกผู้แทนหรือผู้ทรงคุณวุฒิ เข้ามาหมู่บ้านละ 1 คน ร่วมกับผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน แพทย์ประจำตำบล 1 คน ร่วมเป็นคณะสภาตำบล มีนายพยงค์  โสภา  ตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนบ้านพระเสาร์ ทำหน้าที่เลขานุการ และต่อมานายออน  ธรรมรักษ์ ได้ครบวาระการเป็นกำนัน ชาวบ้านได้เลือกนายสมปอง  ผันผาย เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ต่อ และได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการบริหาร ในปี พ.ศ. 2540  - 11 พ.ค. 2544 โดยมีนายธำรง เติมทรัพย์ ครูใหญ่โรงเรียนบ้านพระเสาร์ทำหน้าที่เป็นเลขาฯ และต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงจากสภาตำบล เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – 2552 และได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบลพระเสาร์ เข้ามาเป็นตัวแทนชาวบ้านมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ พร้อมได้ดำเนินการเลือก นายแพงศรี  แสนโคตร เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ เป็นผู้บริหาร พร้อมมีปลัดอรุณรัชช์  พรมนอก เป็นเลขานุการ  ทำให้ตำบลพระเสาร์ได้รับความเจริญในทุกๆด้าน ประชาชนอยู่ดี เป็นสุข การศึกษาก้าวหน้า ประชาชนมีอาชีพ สร้างรายได้สู่ครอบครัว  ดังคำขวัญตำบลพระเสาร์ ที่ว่า
                                    พระธาตุบุญตางามเด่น                     สงบเย็นหนองบัวแดง
                      ธรรมชาติแหล่งฝูงลิง                                     งามยิ่งผ้าไหมไทย
                     ฝักใฝ่สัจจะธรรม                                            ก้าวล้ำเศรษฐกิจ
                     ข้าวขาวหอมมะลิ                                           ประเพณีแห่บั้งไฟ
 
            ตำบลพระเสาร์  มีสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สักการะของชุมชนและผู้พบเห็น คือพระธาตุบุญตาที่วัดพระธาตุบุญตา และทุกปีชาวบ้านพระเสาร์ทั้ง 2 หมู่บ้าน ร่วมกับชุมชนต่างๆ จัดงานนมัสการ  พระธาตุบุญตาทุกปี และสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งที่บ้านปลาปึ่ง ก่อนจะถึงบ้านพระเสาร์ยังมีฝูงลิงซึ่งถือได้ว่าตำบลพระเสาร์มีตำบลในเขตอำเภอมหาชนะชัย ที่มีฝูงลิงอยู่เป็นจำนวนมาก และองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้จัดงานประเพณีเลี้ยงโต๊ะจีนลิง ซึ่งถือเป็นอีกรูปแบบหนึ่งในการอนุรักษ์เชิงท่องเที่ยวของตำบลพระเสาร์ ส่วนอีกสถานที่แห่งหนึ่ง คือ วัดป่าหนองบัวแดง ซึ่งตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 บ้าน    พระเสาร์  ซึ่งเป็นวัดสายวัดหนองป่าพง  สาขาที่ 140 เป็นสถานที่ที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลได้จัดงานปฏิบัติธรรมในทุกๆ ปี  อีกทั้งปัจจุบัน ทางวัดได้ก่อสร้างอุโบสถสองชั้น ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุโบสถที่มีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง
            ในด้านทรัพยากรธรรมชาติ  ในเขตตำบลพระเสาร์มีป่าสงวนอยู่ในพื้นที่ มีเนื้อที่พันกว่าไร่ ซึ่งภายในป่าสงวนถือเป็นป่าเศรษฐกิจของชุมชน โดยในหน้าแล้งชาวบ้านก็ออกหาแมลงขาย  หน้าฝนก็พากันเก็บเห็ดมาขายซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านได้เป็นอย่างดี และชาวบ้านในเขตตำบลพระเสาร์ได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล จัดกิจกรรมปลูกป่าเพื่อทดแทนป่าที่ตาย เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและช่วยกันดูแลผืนป่าแห่งนี้ เป็นอย่างดี ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก็ได้สนับสนุนงบประมาณในการดูแล บำรุงรักษาทุกปี ตลอดจนการประสานงานฝ่ายปกครองตำบลพระเสาร์ทุกหมู่บ้านและส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การสนับสนุน ดูแลรักษาป่า ทั้งระดับอำเภอ จังหวัด และระดับกรม ตามลำดับ 

คำถาม : อยากทราบวิสัยทัศน์ของ อบต.
ตอบ :  “สาธารณูปโภคก้าวไกล ใส่ใจการคมนาคม อุดมด้วยแหล่งน้ำ งามล้ำประเพณี สู่วิถีความพอเพียง”

 

คำถาม : สามารถติดต่อได้ทางช่องทางใดบ้าง
ตอบ : 1. สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย
               จังหวัดยโสธร

           2. ทาง https://www.phrasao.go.th
           3. ทาง เพจ facebook องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ 
               
https://www.facebook.com/1784040691908638/
           4. ทาง ไลน์ 
https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9
           5. โทรศัพท์/โทรสาร 0 4597 0290

 

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

คำถาม : อยากทราบประวัติของตำบลพระเสาร์
ตอบ : ประวัติความเป็นมาโดยย่อของบ้านพระเสาร์

          บ้านพระเสาร์   เดิมเป็นบ้านเก่าแก่ของขอม  (เขมร)  มาตั้งภูลำเนาอยู่เป็นระยะเวลาหลายร้อยปี  ขอมก็ได้อพยพหนีไปอยู่แห่งใหม่  มีภาชนะต่างๆ เช่นกระปุกปั้น  หม้อ  ไห  ขุดบึง คูณดินเป็นโนน  ขุดครองสิม  หนองปู่ตา เป็นหลักฐาน  ต่อมามีชนอยู่  2กลุ่ม คือ 

         1. อพยพมาจากศรีภูมิ   (สุวรรณภูมิ)

       2. พวกยือ  (ส่วย)  อพยพมาจากศรีษะเกษ บ้านโพนข่า  โพนวัว ชน  2  กลุ่มได้รวมตัวกันจัดตั้งวัดขึ้นที่โนนหนองสิม  เป็นระยะเวลามานาน  1,000  กว่าปี  ต่อมามีเจ้าวัดชื่อ  หลวงพ่อมุม  มีชื่อเล่นว่าหลวงพ่อขี้เถ้าได้พาพระสงมาถางไร่  เพื่อปลูกมันเทศ   มันแกวหลวงพ่อก็เลยขุดบ่อน้ำ  พระสงฆ์ก็พากันอพยพมาสร้างกุฏิพออยู่ได้  ชาวบ้านเมื่อเห็นพระสงฆ์อพยพมาต่างก็พากันอพยพมาอยู่ด้วย

        ในสมัยนั้นได้ข่าวว่า  จังหวัดพนมไพรได้ก่อสร้างองค์พระธาตุขึ้น  พระสงฆ์และประชาชนจำนวนมากได้เดินทางผ่านสถานที่หมู่บ้านต่างๆ  จุดประสงค์ก็เพื่อนำปัจจัยสิ่งของอันมีค่าดังกล่าวไปสักการบูชาและบรรจุไว้กับองค์พระธาตุ

        ขณะนั้น บ้านพระเสาร์ยังไม่มีชื่อบ้านเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง  ชาวบ้านจำนวน  2  กลุ่ม จึงได้มาประชุมกันว่าจะตั้งชื่อหมู่บ้านว่าอย่างไรดี  เลยมีความคิดขึ้นว่า    พระสงฆ์ได้ธุดงค์มา  “เซา” คำว่า   “เซา” เป็นภาษาอิสานแปลว่า “พักผ่อน” จึงได้ตกลงกันให้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า  ”บ้านพระเซา” ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นบ้านพระเสาร์ 
            นานมาแล้วมีคณะสงฆ์จำนวน 500 รูป พร้อมญาติโยมจำนวนมากที่อพยพมาจากบ้านโพนข่า โพนงัว จังหวัดศรีสะเกษ และอพยพมาจากสุวรรณภูมิ มารวมกันเพื่อที่จะเดินทาง โดยได้นำก้อนหินศิลาทรายพร้อมด้วยเงินทองโดยการนำของหลวงปู่ท้าวไปร่วมก่อสร้างพระธาตุพนม (จังหวัดนครพนม ปัจจุบัน) แต่การเดินทางในครั้งนั้นไม่มีรถยนต์ ใช้วัวเทียมเกวียนและใช้คนหาบหามช่วยเหลือกัน ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น ตื่นเช้าก็ออกเดินทางต่อไป ซึ่งในขณะนั้นได้ออกเดินทางจากบ้านประสิว (บ้านคูเมือง ตำบลคูเมืองในปัจจุบัน) ตอนเช้า หลวงปู่ท้าวได้พาคณะสงฆ์ตลอดญาติโยมออกจากที่พักและเดินทางมาพักที่โนนหนองน้ำ เพราะเป็นเวลาพลบค่ำพอดี ตลอดที่พักแห่งนี้ หลวงปู่ท้าวได้ดูสภาพรอบๆ หนองน้ำแล้วเป็นที่เหมาะแก่การตั้งวัดและหมู่บ้าน จึงได้ร่วมปรึกษาหารือกันว่า เมื่อเรามาพบสถานที่อุดมสมบูรณ์แล้วเราควรจะสร้างวัดและตั้งบ้านเรือนให้ญาติโยมได้อาศัย พร้อมสถานที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์ทำไปจนถึงลูกหลานก็ใช้ไม่หมด  จึงได้พร้อมกันดำเนินการก่อสร้างวัดและสร้างหมู่บ้าน ซึ่งสาเหตุมาจากในขณะที่ปรึกษาหารืออยู่นั้นได้ข่าวจากคณะที่เดินทางไปก่อนหน้านี้ว่า การก่อสร้างพระธาตุพนมได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้นำหินศิลาทรายและวัตถุที่นำมานั้น นำมารวมกันแล้วสร้างเป็นวัดขึ้นที่โนนน้ำแห่งนั้น (ปัจจุบันคือที่ก่อตั้งวัดพระธาตุบุญตา) ส่วนญาติโยมที่ตามมาก็ขอให้เอาไม้บริเวณนั้น ไปสร้างที่อยู่อาศัย โดยมีการแบ่งกันเป็นคุ้มๆ จำนวน 7 คุ้ม เพื่อที่จะดูแลรักษาร่วมกัน เพราะช่วงที่อพยพมาบางแห่งก็ถูกโจรขโมยสิ่งของที่นำมา หลวงปู่ท้าวจึงให้อยู่รวมกันเป็นคุ้มๆ ดังนี้ 1. คุ้มหวงแหน  2. คุ้มโนนขวา  3. คุ้มโนนตาล  4. คุ้มขี้หมา  5. คุ้มโนนทัน  6. คุ้มโนนโพธิ์  7. คุ้มโนนขี้เหล็ก  และตั้งชื่อบ้านขึ้นว่า  บ้านพระเซา  ในขณะนั้นยังไม่มีการเลือกผู้ใหญ่บ้านและต่อมาได้ขอตั้งหมู่บ้าน ชื่อว่าบ้านพระเซา  ทางอำเภอจึงได้แต่งตั้งตามที่ขอไป เป็นบ้านพระเซา หมู่ที่ 1 และโนนรอบๆบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านพระเซา ได้มีกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ที่ตามมาทีหลัง ก็ได้หยุดตั้งบ้านเรือน และได้ขอตั้งเป็นหมู่บ้านเพิ่มอีก จำนวน 6 หมู่บ้าน ดังนี้1. บ้านพระเซา  2. บ้านปลาปึ่ง  3. บ้านโนนยาง  4. บ้านขาทราย  5. บ้านโนนงิ้ว  6. บ้านหัวดง  7. บ้านแดง
            บ้านพระเซาหลังจากที่ได้ขอตั้งหมู่บ้านแล้ว ทางราชการได้แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้าน โดยมีนายเบ้า     เวชจำปา เป็นผู้ใหญ่บ้าน และต่อมาได้มีการเลือกบ้านพระเซา เป็นตำบลพระเซา โดยนายเบ้า  เวชจำปา เป็นกำนันตำบลพระเซา โดยเป็นคนแรกของตำบล เมื่อปี พ.ศ. ........... และต่อมาได้มีการเลือกกำนันตำบลพระเซา  โดยมีนายสังข์  พวงพันธ์ เป็นกำนันคนที่สอง  นายพรหม   โสระมรรค เป็นกำนันคนที่สาม  ในช่วงที่นายพรหม  โสระมรรค ทำหน้าที่เป็นกำนั้น นั้น  การเรียกชื่อตำบลพระเซา ก็ได้เปลี่ยนเป็นตำบลพระเสาร์  ตามที่ชาวบ้านเรียกชื่อมาตามลำดับ นายมนู  ก้อนคำ เป็นกำนันคนที่สี่ นายผ่าน  วิชาพูล  เป็นกำนันคนที่ห้า  นายออน  ธรรมรักษ์  เป็นกำนันคนที่หก นายสมปอง  ผันผาย  เป็นกำนันคนที่เจ็ด  และนายชัยวัฒน์  ตะเคียน  เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ จนถึงปัจจุบัน
            บ้านพระเสาร์ ในช่วงที่กำนันผ่าน  วิชาพูล ดำรงตำแหน่งนั้น ได้ขอแยกหมู่บ้านพระเสาร์ ออกเป็นหมู่ที่ 8 ทางราชการจึงอนุมัติให้แยกได้  โดยนายหาญ  สิงห์คำ ได้เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 และมีนายประดิษฐ์  โสสะ เป็นผู้ใหญ่บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 (คนปัจจุบัน)

 
ด้านการปกครอง

              ตำบลพระเสาร์ เป็นตำบลติดเขตของจังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดศรีสะเกษ มีเส้นทางการคมนาคมเชื่อมกันตลอดและการสัญจรไปมาสะดวก  ถึงจะเป็นตำบลที่อยู่แนวเขตการติดต่อของสองจังหวัด ทำให้ประชาชนของตำบลพระเสาร์ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การค้าขาย ความสัมพันธ์ด้านการศึกษา การพัฒนา การประกอบอาชีพ ถือได้ว่าตำบลพระเสาร์ ได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ ดีขึ้นตามลำดับ ทั้งอุปนิสัยของประชาชน มีการเสียสละ อ่อนน้อมถ่อมตน คบง่าย ไม่ถือตัว และพร้อมเป็นมิตรกับทุกชุมชน
            ในช่วงปี 2535 ทางราชการได้ให้อำนาจของตำบลพระเสาร์ ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง โดยที่กำนันตำบลพระเสาร์ และผู้ใหญ่บ้านพร้อมด้วยผู้แทนของชาวบ้านที่เลือกเข้ามาเป็นคณะกรรมการสภาตำบล  หมู่บ้านละ 1 คน  เข้ามาทำหน้าที่แทนชุมชน เพื่อวางแผนการพัฒนาตำบลของตัวเองให้ได้รับความเจริญ ทัดเทียมตำบลข้างเคียง โดยท่านนายอำเภอนั้น คอยกำกับดูแลร่วมกับพัฒนาการอำเภอ เป็น  พี่เลี้ยงให้  ช่วงนายออน  ธรรมรักษ์ เป็นกำนัน และทำหน้าที่เป็นประธานคณะสภาตำบล โดยทำหน้าที่คราวละ 4 ปี  ก็ให้มีการเลือกผู้แทนหรือผู้ทรงคุณวุฒิ เข้ามาหมู่บ้านละ 1 คน ร่วมกับผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน แพทย์ประจำตำบล 1 คน ร่วมเป็นคณะสภาตำบล มีนายพยงค์  โสภา  ตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนบ้านพระเสาร์ ทำหน้าที่เลขานุการ และต่อมานายออน  ธรรมรักษ์ ได้ครบวาระการเป็นกำนัน ชาวบ้านได้เลือกนายสมปอง  ผันผาย เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ต่อ และได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการบริหาร ในปี พ.ศ. 2540  - 11 พ.ค. 2544 โดยมีนายธำรง เติมทรัพย์ ครูใหญ่โรงเรียนบ้านพระเสาร์ทำหน้าที่เป็นเลขาฯ และต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงจากสภาตำบล เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – 2552 และได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบลพระเสาร์ เข้ามาเป็นตัวแทนชาวบ้านมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ พร้อมได้ดำเนินการเลือก นายแพงศรี  แสนโคตร เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ เป็นผู้บริหาร พร้อมมีปลัดอรุณรัชช์  พรมนอก เป็นเลขานุการ  ทำให้ตำบลพระเสาร์ได้รับความเจริญในทุกๆด้าน ประชาชนอยู่ดี เป็นสุข การศึกษาก้าวหน้า ประชาชนมีอาชีพ สร้างรายได้สู่ครอบครัว  ดังคำขวัญตำบลพระเสาร์ ที่ว่า
                                    พระธาตุบุญตางามเด่น                     สงบเย็นหนองบัวแดง
                      ธรรมชาติแหล่งฝูงลิง                                     งามยิ่งผ้าไหมไทย
                     ฝักใฝ่สัจจะธรรม                                            ก้าวล้ำเศรษฐกิจ
                     ข้าวขาวหอมมะลิ                                           ประเพณีแห่บั้งไฟ
 
            ตำบลพระเสาร์  มีสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สักการะของชุมชนและผู้พบเห็น คือพระธาตุบุญตาที่วัดพระธาตุบุญตา และทุกปีชาวบ้านพระเสาร์ทั้ง 2 หมู่บ้าน ร่วมกับชุมชนต่างๆ จัดงานนมัสการ  พระธาตุบุญตาทุกปี และสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งที่บ้านปลาปึ่ง ก่อนจะถึงบ้านพระเสาร์ยังมีฝูงลิงซึ่งถือได้ว่าตำบลพระเสาร์มีตำบลในเขตอำเภอมหาชนะชัย ที่มีฝูงลิงอยู่เป็นจำนวนมาก และองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้จัดงานประเพณีเลี้ยงโต๊ะจีนลิง ซึ่งถือเป็นอีกรูปแบบหนึ่งในการอนุรักษ์เชิงท่องเที่ยวของตำบลพระเสาร์ ส่วนอีกสถานที่แห่งหนึ่ง คือ วัดป่าหนองบัวแดง ซึ่งตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 บ้าน    พระเสาร์  ซึ่งเป็นวัดสายวัดหนองป่าพง  สาขาที่ 140 เป็นสถานที่ที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลได้จัดงานปฏิบัติธรรมในทุกๆ ปี  อีกทั้งปัจจุบัน ทางวัดได้ก่อสร้างอุโบสถสองชั้น ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุโบสถที่มีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง
            ในด้านทรัพยากรธรรมชาติ  ในเขตตำบลพระเสาร์มีป่าสงวนอยู่ในพื้นที่ มีเนื้อที่พันกว่าไร่ ซึ่งภายในป่าสงวนถือเป็นป่าเศรษฐกิจของชุมชน โดยในหน้าแล้งชาวบ้านก็ออกหาแมลงขาย  หน้าฝนก็พากันเก็บเห็ดมาขายซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านได้เป็นอย่างดี และชาวบ้านในเขตตำบลพระเสาร์ได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล จัดกิจกรรมปลูกป่าเพื่อทดแทนป่าที่ตาย เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและช่วยกันดูแลผืนป่าแห่งนี้ เป็นอย่างดี ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก็ได้สนับสนุนงบประมาณในการดูแล บำรุงรักษาทุกปี ตลอดจนการประสานงานฝ่ายปกครองตำบลพระเสาร์ทุกหมู่บ้านและส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การสนับสนุน ดูแลรักษาป่า ทั้งระดับอำเภอ จังหวัด และระดับกรม ตามลำดับ 

คำถาม : อยากทราบวิสัยทัศน์ของ อบต.
ตอบ :  “สาธารณูปโภคก้าวไกล ใส่ใจการคมนาคม อุดมด้วยแหล่งน้ำ งามล้ำประเพณี สู่วิถีความพอเพียง”

 

คำถาม : สามารถติดต่อได้ทางช่องทางใดบ้าง
ตอบ : 1. สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย
               จังหวัดยโสธร

           2. ทาง https://www.phrasao.go.th
           3. ทาง เพจ facebook องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ 
               
https://www.facebook.com/1784040691908638/
           4. ทาง ไลน์ 
https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9
           5. โทรศัพท์/โทรสาร 0 4597 0290

 

../add_file/

คำถาม : อยากทราบประวัติของตำบลพระเสาร์
ตอบ : ประวัติความเป็นมาโดยย่อของบ้านพระเสาร์

          บ้านพระเสาร์   เดิมเป็นบ้านเก่าแก่ของขอม  (เขมร)  มาตั้งภูลำเนาอยู่เป็นระยะเวลาหลายร้อยปี  ขอมก็ได้อพยพหนีไปอยู่แห่งใหม่  มีภาชนะต่างๆ เช่นกระปุกปั้น  หม้อ  ไห  ขุดบึง คูณดินเป็นโนน  ขุดครองสิม  หนองปู่ตา เป็นหลักฐาน  ต่อมามีชนอยู่  2กลุ่ม คือ 

         1. อพยพมาจากศรีภูมิ   (สุวรรณภูมิ)

       2. พวกยือ  (ส่วย)  อพยพมาจากศรีษะเกษ บ้านโพนข่า  โพนวัว ชน  2  กลุ่มได้รวมตัวกันจัดตั้งวัดขึ้นที่โนนหนองสิม  เป็นระยะเวลามานาน  1,000  กว่าปี  ต่อมามีเจ้าวัดชื่อ  หลวงพ่อมุม  มีชื่อเล่นว่าหลวงพ่อขี้เถ้าได้พาพระสงมาถางไร่  เพื่อปลูกมันเทศ   มันแกวหลวงพ่อก็เลยขุดบ่อน้ำ  พระสงฆ์ก็พากันอพยพมาสร้างกุฏิพออยู่ได้  ชาวบ้านเมื่อเห็นพระสงฆ์อพยพมาต่างก็พากันอพยพมาอยู่ด้วย

        ในสมัยนั้นได้ข่าวว่า  จังหวัดพนมไพรได้ก่อสร้างองค์พระธาตุขึ้น  พระสงฆ์และประชาชนจำนวนมากได้เดินทางผ่านสถานที่หมู่บ้านต่างๆ  จุดประสงค์ก็เพื่อนำปัจจัยสิ่งของอันมีค่าดังกล่าวไปสักการบูชาและบรรจุไว้กับองค์พระธาตุ

        ขณะนั้น บ้านพระเสาร์ยังไม่มีชื่อบ้านเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง  ชาวบ้านจำนวน  2  กลุ่ม จึงได้มาประชุมกันว่าจะตั้งชื่อหมู่บ้านว่าอย่างไรดี  เลยมีความคิดขึ้นว่า    พระสงฆ์ได้ธุดงค์มา  “เซา” คำว่า   “เซา” เป็นภาษาอิสานแปลว่า “พักผ่อน” จึงได้ตกลงกันให้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า  ”บ้านพระเซา” ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นบ้านพระเสาร์ 
            นานมาแล้วมีคณะสงฆ์จำนวน 500 รูป พร้อมญาติโยมจำนวนมากที่อพยพมาจากบ้านโพนข่า โพนงัว จังหวัดศรีสะเกษ และอพยพมาจากสุวรรณภูมิ มารวมกันเพื่อที่จะเดินทาง โดยได้นำก้อนหินศิลาทรายพร้อมด้วยเงินทองโดยการนำของหลวงปู่ท้าวไปร่วมก่อสร้างพระธาตุพนม (จังหวัดนครพนม ปัจจุบัน) แต่การเดินทางในครั้งนั้นไม่มีรถยนต์ ใช้วัวเทียมเกวียนและใช้คนหาบหามช่วยเหลือกัน ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น ตื่นเช้าก็ออกเดินทางต่อไป ซึ่งในขณะนั้นได้ออกเดินทางจากบ้านประสิว (บ้านคูเมือง ตำบลคูเมืองในปัจจุบัน) ตอนเช้า หลวงปู่ท้าวได้พาคณะสงฆ์ตลอดญาติโยมออกจากที่พักและเดินทางมาพักที่โนนหนองน้ำ เพราะเป็นเวลาพลบค่ำพอดี ตลอดที่พักแห่งนี้ หลวงปู่ท้าวได้ดูสภาพรอบๆ หนองน้ำแล้วเป็นที่เหมาะแก่การตั้งวัดและหมู่บ้าน จึงได้ร่วมปรึกษาหารือกันว่า เมื่อเรามาพบสถานที่อุดมสมบูรณ์แล้วเราควรจะสร้างวัดและตั้งบ้านเรือนให้ญาติโยมได้อาศัย พร้อมสถานที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์ทำไปจนถึงลูกหลานก็ใช้ไม่หมด  จึงได้พร้อมกันดำเนินการก่อสร้างวัดและสร้างหมู่บ้าน ซึ่งสาเหตุมาจากในขณะที่ปรึกษาหารืออยู่นั้นได้ข่าวจากคณะที่เดินทางไปก่อนหน้านี้ว่า การก่อสร้างพระธาตุพนมได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้นำหินศิลาทรายและวัตถุที่นำมานั้น นำมารวมกันแล้วสร้างเป็นวัดขึ้นที่โนนน้ำแห่งนั้น (ปัจจุบันคือที่ก่อตั้งวัดพระธาตุบุญตา) ส่วนญาติโยมที่ตามมาก็ขอให้เอาไม้บริเวณนั้น ไปสร้างที่อยู่อาศัย โดยมีการแบ่งกันเป็นคุ้มๆ จำนวน 7 คุ้ม เพื่อที่จะดูแลรักษาร่วมกัน เพราะช่วงที่อพยพมาบางแห่งก็ถูกโจรขโมยสิ่งของที่นำมา หลวงปู่ท้าวจึงให้อยู่รวมกันเป็นคุ้มๆ ดังนี้ 1. คุ้มหวงแหน  2. คุ้มโนนขวา  3. คุ้มโนนตาล  4. คุ้มขี้หมา  5. คุ้มโนนทัน  6. คุ้มโนนโพธิ์  7. คุ้มโนนขี้เหล็ก  และตั้งชื่อบ้านขึ้นว่า  บ้านพระเซา  ในขณะนั้นยังไม่มีการเลือกผู้ใหญ่บ้านและต่อมาได้ขอตั้งหมู่บ้าน ชื่อว่าบ้านพระเซา  ทางอำเภอจึงได้แต่งตั้งตามที่ขอไป เป็นบ้านพระเซา หมู่ที่ 1 และโนนรอบๆบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านพระเซา ได้มีกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ที่ตามมาทีหลัง ก็ได้หยุดตั้งบ้านเรือน และได้ขอตั้งเป็นหมู่บ้านเพิ่มอีก จำนวน 6 หมู่บ้าน ดังนี้1. บ้านพระเซา  2. บ้านปลาปึ่ง  3. บ้านโนนยาง  4. บ้านขาทราย  5. บ้านโนนงิ้ว  6. บ้านหัวดง  7. บ้านแดง
            บ้านพระเซาหลังจากที่ได้ขอตั้งหมู่บ้านแล้ว ทางราชการได้แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้าน โดยมีนายเบ้า     เวชจำปา เป็นผู้ใหญ่บ้าน และต่อมาได้มีการเลือกบ้านพระเซา เป็นตำบลพระเซา โดยนายเบ้า  เวชจำปา เป็นกำนันตำบลพระเซา โดยเป็นคนแรกของตำบล เมื่อปี พ.ศ. ........... และต่อมาได้มีการเลือกกำนันตำบลพระเซา  โดยมีนายสังข์  พวงพันธ์ เป็นกำนันคนที่สอง  นายพรหม   โสระมรรค เป็นกำนันคนที่สาม  ในช่วงที่นายพรหม  โสระมรรค ทำหน้าที่เป็นกำนั้น นั้น  การเรียกชื่อตำบลพระเซา ก็ได้เปลี่ยนเป็นตำบลพระเสาร์  ตามที่ชาวบ้านเรียกชื่อมาตามลำดับ นายมนู  ก้อนคำ เป็นกำนันคนที่สี่ นายผ่าน  วิชาพูล  เป็นกำนันคนที่ห้า  นายออน  ธรรมรักษ์  เป็นกำนันคนที่หก นายสมปอง  ผันผาย  เป็นกำนันคนที่เจ็ด  และนายชัยวัฒน์  ตะเคียน  เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ จนถึงปัจจุบัน
            บ้านพระเสาร์ ในช่วงที่กำนันผ่าน  วิชาพูล ดำรงตำแหน่งนั้น ได้ขอแยกหมู่บ้านพระเสาร์ ออกเป็นหมู่ที่ 8 ทางราชการจึงอนุมัติให้แยกได้  โดยนายหาญ  สิงห์คำ ได้เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 และมีนายประดิษฐ์  โสสะ เป็นผู้ใหญ่บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 (คนปัจจุบัน)

 
ด้านการปกครอง

              ตำบลพระเสาร์ เป็นตำบลติดเขตของจังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดศรีสะเกษ มีเส้นทางการคมนาคมเชื่อมกันตลอดและการสัญจรไปมาสะดวก  ถึงจะเป็นตำบลที่อยู่แนวเขตการติดต่อของสองจังหวัด ทำให้ประชาชนของตำบลพระเสาร์ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การค้าขาย ความสัมพันธ์ด้านการศึกษา การพัฒนา การประกอบอาชีพ ถือได้ว่าตำบลพระเสาร์ ได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ ดีขึ้นตามลำดับ ทั้งอุปนิสัยของประชาชน มีการเสียสละ อ่อนน้อมถ่อมตน คบง่าย ไม่ถือตัว และพร้อมเป็นมิตรกับทุกชุมชน
            ในช่วงปี 2535 ทางราชการได้ให้อำนาจของตำบลพระเสาร์ ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง โดยที่กำนันตำบลพระเสาร์ และผู้ใหญ่บ้านพร้อมด้วยผู้แทนของชาวบ้านที่เลือกเข้ามาเป็นคณะกรรมการสภาตำบล  หมู่บ้านละ 1 คน  เข้ามาทำหน้าที่แทนชุมชน เพื่อวางแผนการพัฒนาตำบลของตัวเองให้ได้รับความเจริญ ทัดเทียมตำบลข้างเคียง โดยท่านนายอำเภอนั้น คอยกำกับดูแลร่วมกับพัฒนาการอำเภอ เป็น  พี่เลี้ยงให้  ช่วงนายออน  ธรรมรักษ์ เป็นกำนัน และทำหน้าที่เป็นประธานคณะสภาตำบล โดยทำหน้าที่คราวละ 4 ปี  ก็ให้มีการเลือกผู้แทนหรือผู้ทรงคุณวุฒิ เข้ามาหมู่บ้านละ 1 คน ร่วมกับผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน แพทย์ประจำตำบล 1 คน ร่วมเป็นคณะสภาตำบล มีนายพยงค์  โสภา  ตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนบ้านพระเสาร์ ทำหน้าที่เลขานุการ และต่อมานายออน  ธรรมรักษ์ ได้ครบวาระการเป็นกำนัน ชาวบ้านได้เลือกนายสมปอง  ผันผาย เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ต่อ และได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการบริหาร ในปี พ.ศ. 2540  - 11 พ.ค. 2544 โดยมีนายธำรง เติมทรัพย์ ครูใหญ่โรงเรียนบ้านพระเสาร์ทำหน้าที่เป็นเลขาฯ และต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงจากสภาตำบล เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – 2552 และได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบลพระเสาร์ เข้ามาเป็นตัวแทนชาวบ้านมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ พร้อมได้ดำเนินการเลือก นายแพงศรี  แสนโคตร เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ เป็นผู้บริหาร พร้อมมีปลัดอรุณรัชช์  พรมนอก เป็นเลขานุการ  ทำให้ตำบลพระเสาร์ได้รับความเจริญในทุกๆด้าน ประชาชนอยู่ดี เป็นสุข การศึกษาก้าวหน้า ประชาชนมีอาชีพ สร้างรายได้สู่ครอบครัว  ดังคำขวัญตำบลพระเสาร์ ที่ว่า
                                    พระธาตุบุญตางามเด่น                     สงบเย็นหนองบัวแดง
                      ธรรมชาติแหล่งฝูงลิง                                     งามยิ่งผ้าไหมไทย
                     ฝักใฝ่สัจจะธรรม                                            ก้าวล้ำเศรษฐกิจ
                     ข้าวขาวหอมมะลิ                                           ประเพณีแห่บั้งไฟ
 
            ตำบลพระเสาร์  มีสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สักการะของชุมชนและผู้พบเห็น คือพระธาตุบุญตาที่วัดพระธาตุบุญตา และทุกปีชาวบ้านพระเสาร์ทั้ง 2 หมู่บ้าน ร่วมกับชุมชนต่างๆ จัดงานนมัสการ  พระธาตุบุญตาทุกปี และสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งที่บ้านปลาปึ่ง ก่อนจะถึงบ้านพระเสาร์ยังมีฝูงลิงซึ่งถือได้ว่าตำบลพระเสาร์มีตำบลในเขตอำเภอมหาชนะชัย ที่มีฝูงลิงอยู่เป็นจำนวนมาก และองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้จัดงานประเพณีเลี้ยงโต๊ะจีนลิง ซึ่งถือเป็นอีกรูปแบบหนึ่งในการอนุรักษ์เชิงท่องเที่ยวของตำบลพระเสาร์ ส่วนอีกสถานที่แห่งหนึ่ง คือ วัดป่าหนองบัวแดง ซึ่งตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 บ้าน    พระเสาร์  ซึ่งเป็นวัดสายวัดหนองป่าพง  สาขาที่ 140 เป็นสถานที่ที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลได้จัดงานปฏิบัติธรรมในทุกๆ ปี  อีกทั้งปัจจุบัน ทางวัดได้ก่อสร้างอุโบสถสองชั้น ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุโบสถที่มีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง
            ในด้านทรัพยากรธรรมชาติ  ในเขตตำบลพระเสาร์มีป่าสงวนอยู่ในพื้นที่ มีเนื้อที่พันกว่าไร่ ซึ่งภายในป่าสงวนถือเป็นป่าเศรษฐกิจของชุมชน โดยในหน้าแล้งชาวบ้านก็ออกหาแมลงขาย  หน้าฝนก็พากันเก็บเห็ดมาขายซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านได้เป็นอย่างดี และชาวบ้านในเขตตำบลพระเสาร์ได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล จัดกิจกรรมปลูกป่าเพื่อทดแทนป่าที่ตาย เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและช่วยกันดูแลผืนป่าแห่งนี้ เป็นอย่างดี ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก็ได้สนับสนุนงบประมาณในการดูแล บำรุงรักษาทุกปี ตลอดจนการประสานงานฝ่ายปกครองตำบลพระเสาร์ทุกหมู่บ้านและส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การสนับสนุน ดูแลรักษาป่า ทั้งระดับอำเภอ จังหวัด และระดับกรม ตามลำดับ 

คำถาม : อยากทราบวิสัยทัศน์ของ อบต.
ตอบ :  “สาธารณูปโภคก้าวไกล ใส่ใจการคมนาคม อุดมด้วยแหล่งน้ำ งามล้ำประเพณี สู่วิถีความพอเพียง”

 

คำถาม : สามารถติดต่อได้ทางช่องทางใดบ้าง
ตอบ : 1. สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย
               จังหวัดยโสธร

           2. ทาง https://www.phrasao.go.th
           3. ทาง เพจ facebook องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ 
               
https://www.facebook.com/1784040691908638/
           4. ทาง ไลน์ 
https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9
           5. โทรศัพท์/โทรสาร 0 4597 0290

 


ชื่อไฟล์ :

 

 

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:

 

../add_file/

 


ชื่อไฟล์ :

คลิกด้านล่างเพื่อเข้า Line มือถือ
https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9

https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

คลิกด้านล่างเพื่อเข้า Line มือถือ
https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9

../add_file/

คลิกด้านล่างเพื่อเข้า Line มือถือ
https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9


ชื่อไฟล์ :

 

ช่องทางการติดต่อ

           1. สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ตำบลพระเสาร์
              อำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร

           2. ทางเว็บไซต์  https://www.phrasao.go.th
           3. ทาง เพจ facebook องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  
                  https://www.facebook.com/1784040691908638/
           4. ทาง ไลน์ 
https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9
           5. โทรศัพท์/โทรสาร 0 4597 0290

          6. E-Mail : 6350609@dla.go.th หรือ admin@phrasao.go.th

 

 
 

ช่องทางการติดต่อ

           1. สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ตำบลพระเสาร์
              อำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร

           2. ทางเว็บไซต์  https://www.phrasao.go.th
           3. ทาง เพจ facebook องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  
                  
https://www.facebook.com/1784040691908638/
           4. ทาง ไลน์ 
https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9
           5. โทรศัพท์/โทรสาร 0 4597 0290

          6. E-Mail : 6350609@dla.go.th หรือ admin@phrasao.go.th

 

 
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

 

ช่องทางการติดต่อ

           1. สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ตำบลพระเสาร์
              อำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร

           2. ทางเว็บไซต์  https://www.phrasao.go.th
           3. ทาง เพจ facebook องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  
                  https://www.facebook.com/1784040691908638/
           4. ทาง ไลน์ 
https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9
           5. โทรศัพท์/โทรสาร 0 4597 0290

          6. E-Mail : 6350609@dla.go.th หรือ admin@phrasao.go.th

 

 
../add_file/

 

ช่องทางการติดต่อ

           1. สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ตำบลพระเสาร์
              อำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร

           2. ทางเว็บไซต์  https://www.phrasao.go.th
           3. ทาง เพจ facebook องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  
                  https://www.facebook.com/1784040691908638/
           4. ทาง ไลน์ 
https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9
           5. โทรศัพท์/โทรสาร 0 4597 0290

          6. E-Mail : 6350609@dla.go.th หรือ admin@phrasao.go.th

 

 

ชื่อไฟล์ :

สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf

file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf

../add_file/

สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf


ชื่อไฟล์ : ทดสอบ file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: ทดสอบ ../add_file/ทดสอบ
ชื่อไฟล์ :

อำนาจหน้าที่ของ อบต.

อบต. มีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วน ตำบล พ.ศ. 2537 และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2542)

  1. พัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
  2. มีหน้าที่ต้องทำตามมาตรา 67 ดังนี้
    1. จัดให้มีและบำรุงทางน้ำและทางบก
    2. การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
    3. ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
    4. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
    5. ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
    6. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุและพิการ
    7. คุ้มครอง ดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    8. บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
    9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย
  3. มีหน้าที่ที่อาจทำกิจกรรมในเขต อบต. ตามมาตรา 68 ดังนี้
    1. ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร
    2. ให้มีและบำรุงไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
    3. ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
    4. ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
    5. ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์
    6. ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
    7. บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพ
    8. การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
    9. หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต.
    10. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
    11. กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
    12. การท่องเที่ยว
    13. การผังเมือง

อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น ไม่เป็นการตัดอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบล แต่ต้องแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตำบลทราบล่วงหน้าตามสมควร ในกรณีนี้หากองค์การบริหารส่วนตำบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ นำความเห็นขององค์การบริหารส่วนตำบลไปประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย

เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการของทางราชการในตำบล เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ

องค์การบริหารส่วนตำบลอาจออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ในการนี้จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กำหนดโทษปรับเกินหนึ่งพันบาท เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น

ในส่วนของการบริหารงานนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลมีการจัดแบ่งการบริหารงานออกเป็น สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล และส่วนต่าง ๆ ที่องค์การบริหารส่วนตำบลได้ตั้งขึ้น โดยมีพนักงานส่วนตำบลเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน และองค์การบริหารส่วนตำบลสามารถขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบลชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอำนาจอนุญาตได้ตามความจำเป็น และในกรณีที่เป็นข้าราชการซึ่งไม่อยู่ในอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ให้กระทรวงมหาดไทยทำความตกลงกับหน่วยงานต้นสังกัดก่อนแต่งตั้ง

นอกจากนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลอาจทำกิจการนอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหรือร่วมกับสภาตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น เพื่อกระทำกิจการร่วมกันได้ ทั้งนี้ เมื่อได้รับความยินยอมจากสภาตำบลองค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และกิจการนั้นเป็นกิจการที่จำเป็นต้องทำและเป็นการเกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของตน

อำนาจหน้าที่ของ อบต.

อบต. มีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วน ตำบล พ.ศ. 2537 และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2542)

  1. พัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
  2. มีหน้าที่ต้องทำตามมาตรา 67 ดังนี้
    1. จัดให้มีและบำรุงทางน้ำและทางบก
    2. การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
    3. ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
    4. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
    5. ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
    6. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุและพิการ
    7. คุ้มครอง ดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    8. บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
    9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย
  3. มีหน้าที่ที่อาจทำกิจกรรมในเขต อบต. ตามมาตรา 68 ดังนี้
    1. ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร
    2. ให้มีและบำรุงไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
    3. ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
    4. ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
    5. ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์
    6. ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
    7. บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพ
    8. การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
    9. หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต.
    10. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
    11. กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
    12. การท่องเที่ยว
    13. การผังเมือง

อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น ไม่เป็นการตัดอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบล แต่ต้องแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตำบลทราบล่วงหน้าตามสมควร ในกรณีนี้หากองค์การบริหารส่วนตำบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ นำความเห็นขององค์การบริหารส่วนตำบลไปประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย

เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการของทางราชการในตำบล เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ

องค์การบริหารส่วนตำบลอาจออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ในการนี้จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กำหนดโทษปรับเกินหนึ่งพันบาท เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น

ในส่วนของการบริหารงานนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลมีการจัดแบ่งการบริหารงานออกเป็น สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล และส่วนต่าง ๆ ที่องค์การบริหารส่วนตำบลได้ตั้งขึ้น โดยมีพนักงานส่วนตำบลเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน และองค์การบริหารส่วนตำบลสามารถขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบลชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอำนาจอนุญาตได้ตามความจำเป็น และในกรณีที่เป็นข้าราชการซึ่งไม่อยู่ในอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ให้กระทรวงมหาดไทยทำความตกลงกับหน่วยงานต้นสังกัดก่อนแต่งตั้ง

นอกจากนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลอาจทำกิจการนอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหรือร่วมกับสภาตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น เพื่อกระทำกิจการร่วมกันได้ ทั้งนี้ เมื่อได้รับความยินยอมจากสภาตำบลองค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และกิจการนั้นเป็นกิจการที่จำเป็นต้องทำและเป็นการเกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของตน

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

อำนาจหน้าที่ของ อบต.

อบต. มีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วน ตำบล พ.ศ. 2537 และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2542)

  1. พัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
  2. มีหน้าที่ต้องทำตามมาตรา 67 ดังนี้
    1. จัดให้มีและบำรุงทางน้ำและทางบก
    2. การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
    3. ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
    4. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
    5. ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
    6. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุและพิการ
    7. คุ้มครอง ดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    8. บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
    9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย
  3. มีหน้าที่ที่อาจทำกิจกรรมในเขต อบต. ตามมาตรา 68 ดังนี้
    1. ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร
    2. ให้มีและบำรุงไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
    3. ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
    4. ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
    5. ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์
    6. ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
    7. บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพ
    8. การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
    9. หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต.
    10. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
    11. กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
    12. การท่องเที่ยว
    13. การผังเมือง

อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น ไม่เป็นการตัดอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบล แต่ต้องแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตำบลทราบล่วงหน้าตามสมควร ในกรณีนี้หากองค์การบริหารส่วนตำบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ นำความเห็นขององค์การบริหารส่วนตำบลไปประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย

เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการของทางราชการในตำบล เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ

องค์การบริหารส่วนตำบลอาจออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ในการนี้จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กำหนดโทษปรับเกินหนึ่งพันบาท เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น

ในส่วนของการบริหารงานนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลมีการจัดแบ่งการบริหารงานออกเป็น สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล และส่วนต่าง ๆ ที่องค์การบริหารส่วนตำบลได้ตั้งขึ้น โดยมีพนักงานส่วนตำบลเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน และองค์การบริหารส่วนตำบลสามารถขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบลชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอำนาจอนุญาตได้ตามความจำเป็น และในกรณีที่เป็นข้าราชการซึ่งไม่อยู่ในอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ให้กระทรวงมหาดไทยทำความตกลงกับหน่วยงานต้นสังกัดก่อนแต่งตั้ง

นอกจากนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลอาจทำกิจการนอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหรือร่วมกับสภาตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น เพื่อกระทำกิจการร่วมกันได้ ทั้งนี้ เมื่อได้รับความยินยอมจากสภาตำบลองค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และกิจการนั้นเป็นกิจการที่จำเป็นต้องทำและเป็นการเกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของตน

../add_file/

อำนาจหน้าที่ของ อบต.

อบต. มีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วน ตำบล พ.ศ. 2537 และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2542)

  1. พัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)
  2. มีหน้าที่ต้องทำตามมาตรา 67 ดังนี้
    1. จัดให้มีและบำรุงทางน้ำและทางบก
    2. การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
    3. ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
    4. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
    5. ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
    6. ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุและพิการ
    7. คุ้มครอง ดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    8. บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
    9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย
  3. มีหน้าที่ที่อาจทำกิจกรรมในเขต อบต. ตามมาตรา 68 ดังนี้
    1. ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร
    2. ให้มีและบำรุงไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
    3. ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
    4. ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
    5. ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์
    6. ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
    7. บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพ
    8. การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
    9. หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต.
    10. ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
    11. กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
    12. การท่องเที่ยว
    13. การผังเมือง

อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น ไม่เป็นการตัดอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบล แต่ต้องแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตำบลทราบล่วงหน้าตามสมควร ในกรณีนี้หากองค์การบริหารส่วนตำบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ นำความเห็นขององค์การบริหารส่วนตำบลไปประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย

เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการของทางราชการในตำบล เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ

องค์การบริหารส่วนตำบลอาจออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ในการนี้จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กำหนดโทษปรับเกินหนึ่งพันบาท เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น

ในส่วนของการบริหารงานนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลมีการจัดแบ่งการบริหารงานออกเป็น สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล และส่วนต่าง ๆ ที่องค์การบริหารส่วนตำบลได้ตั้งขึ้น โดยมีพนักงานส่วนตำบลเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน และองค์การบริหารส่วนตำบลสามารถขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบลชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอำนาจอนุญาตได้ตามความจำเป็น และในกรณีที่เป็นข้าราชการซึ่งไม่อยู่ในอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ให้กระทรวงมหาดไทยทำความตกลงกับหน่วยงานต้นสังกัดก่อนแต่งตั้ง

นอกจากนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลอาจทำกิจการนอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหรือร่วมกับสภาตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น เพื่อกระทำกิจการร่วมกันได้ ทั้งนี้ เมื่อได้รับความยินยอมจากสภาตำบลองค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และกิจการนั้นเป็นกิจการที่จำเป็นต้องทำและเป็นการเกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของตน


ชื่อไฟล์ :

ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา

ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...

เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน

file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา

ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...

เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน

../add_file/

ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา

ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...

เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน


ชื่อไฟล์ :
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:
../add_file/

ชื่อไฟล์ :

แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของ อบต.pdf

โครงสร้าง ของ อบต.พระเสาร์

 

สำนักงานปลัด อบต.

 

กองคลัง

กองช่าง

 

กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

 

กองสวัสดิการสังคม

กองส่งเสริมการเกษตร

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของ อบต.pdf

โครงสร้าง ของ อบต.พระเสาร์

 

สำนักงานปลัด อบต.

 

กองคลัง

กองช่าง

 

กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

 

กองสวัสดิการสังคม

กองส่งเสริมการเกษตร

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของ อบต.pdf

โครงสร้าง ของ อบต.พระเสาร์

 

สำนักงานปลัด อบต.

 

กองคลัง

กองช่าง

 

กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

 

กองสวัสดิการสังคม

กองส่งเสริมการเกษตร

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

../add_file/

แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของ อบต.pdf

โครงสร้าง ของ อบต.พระเสาร์

 

สำนักงานปลัด อบต.

 

กองคลัง

กองช่าง

 

กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

 

กองสวัสดิการสังคม

กองส่งเสริมการเกษตร

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 


ชื่อไฟล์ :

เราเป็นผู้พัฒนาเว็บไซต์ให้ใช้งานง่าย ด้วยระบบ easyweb ใช้งานง่าย พร้อมแสดงได้ในแทบเล็ต และมือถือ

file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

เราเป็นผู้พัฒนาเว็บไซต์ให้ใช้งานง่าย ด้วยระบบ easyweb ใช้งานง่าย พร้อมแสดงได้ในแทบเล็ต และมือถือ

../add_file/

เราเป็นผู้พัฒนาเว็บไซต์ให้ใช้งานง่าย ด้วยระบบ easyweb ใช้งานง่าย พร้อมแสดงได้ในแทบเล็ต และมือถือ


ชื่อไฟล์ :

การพัฒนาระบบของเรา

file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

การพัฒนาระบบของเรา

../add_file/

การพัฒนาระบบของเรา


ชื่อไฟล์ : รอปรับปรุงข้อมูล... file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: รอปรับปรุงข้อมูล... ../add_file/ รอปรับปรุงข้อมูล...
ชื่อไฟล์ : ร้านนิวตัน ขายกาแฟ ชาเย็น ชาเขียว นมเย็น น้ำผลไม้ปั่น ที่อยู่ บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1 ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โทร. 09 8584 4679 ร้านพรสวรรค์หมูกระทะ ที่อยู่ บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1 ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โทร. 09 2731 6935 file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: ร้านนิวตัน ขายกาแฟ ชาเย็น ชาเขียว นมเย็น น้ำผลไม้ปั่น ที่อยู่ บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1 ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โทร. 09 8584 4679 ร้านพรสวรรค์หมูกระทะ ที่อยู่ บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1 ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โทร. 09 2731 6935 ../add_file/ร้านนิวตัน ขายกาแฟ ชาเย็น ชาเขียว นมเย็น น้ำผลไม้ปั่น ที่อยู่ บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1 ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โทร. 09 8584 4679 ร้านพรสวรรค์หมูกระทะ ที่อยู่ บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1 ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โทร. 09 2731 6935
ชื่อไฟล์ :

 ประวัติความเป็นมาโดยย่อของบ้านพระเสาร์

          บ้านพระเสาร์   เดิมเป็นบ้านเก่าแก่ของขอม  (เขมร)  มาตั้งภูลำเนาอยู่เป็นระยะเวลาหลายร้อยปี  ขอมก็ได้อพยพหนีไปอยู่แห่งใหม่  มีภาชนะต่างๆ เช่นกระปุกปั้น  หม้อ  ไห  ขุดบึง คูณดินเป็นโนน  ขุดครองสิม  หนองปู่ตา เป็นหลักฐาน  ต่อมามีชนอยู่  2กลุ่ม คือ 

         1. อพยพมาจากศรีภูมิ   (สุวรรณภูมิ)

       2. พวกยือ  (ส่วย)  อพยพมาจากศรีษะเกษ  บ้านโพนข่า    โพนวัว ชน  2  กลุ่มได้รวมตัวกันจัดตั้งวัดขึ้นที่โนนหนองสิม  เป็นระยะเวลามานาน  1,000  กว่าปี  ต่อมามีเจ้าวัดชื่อ  หลวงพ่อมุม  มีชื่อเล่นว่าหลวงพ่อขี้เถ้าได้พาพระสงมาถางไร่  เพื่อปลูกมันเทศ   มันแกวหลวงพ่อก็เลยขุดบ่อน้ำ  พระสงฆ์ก็พากันอพยพมาสร้างกุฏิพออยู่ได้  ชาวบ้านเมื่อเห็นพระสงฆ์อพยพมาต่างก็พากันอพยพมาอยู่ด้วย

        ในสมัยนั้นได้ข่าวว่า  จังหวัดพนมไพรได้ก่อสร้างองค์พระธาตุขึ้น  พระสงฆ์และประชาชนจำนวนมากได้เดินทางผ่านสถานที่หมู่บ้านต่างๆ  จุดประสงค์ก็เพื่อนำปัจจัยสิ่งของอันมีค่าดังกล่าวไปสักการบูชาและบรรจุไว้กับองค์พระธาตุ

        ขณะนั้น บ้านพระเสาร์ยังไม่มีชื่อบ้านเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง  ชาวบ้านจำนวน  2  กลุ่ม จึงได้มาประชุมกันว่าจะตั้งชื่อหมู่บ้านว่าอย่างไรดี  เลยมีความคิดขึ้นว่า    พระสงฆ์ได้ธุดงค์มา  “เซา” คำว่า   “เซา” เป็นภาษาอิสานแปลว่า “พักผ่อน” จึงได้ตกลงกันให้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า  ”บ้านพระเซา” ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นบ้านพระเสาร์ 
            นานมาแล้วมีคณะสงฆ์จำนวน 500 รูป พร้อมญาติโยมจำนวนมากที่อพยพมาจากบ้านโพนข่า โพนงัว จังหวัดศรีสะเกษ และอพยพมาจากสุวรรณภูมิ มารวมกันเพื่อที่จะเดินทาง โดยได้นำก้อนหินศิลาทรายพร้อมด้วยเงินทองโดยการนำของหลวงปู่ท้าวไปร่วมก่อสร้างพระธาตุพนม (จังหวัดนครพนม ปัจจุบัน) แต่การเดินทางในครั้งนั้นไม่มีรถยนต์ ใช้วัวเทียมเกวียนและใช้คนหาบหามช่วยเหลือกัน ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น ตื่นเช้าก็ออกเดินทางต่อไป ซึ่งในขณะนั้นได้ออกเดินทางจากบ้านประสิว (บ้านคูเมือง ตำบลคูเมืองในปัจจุบัน) ตอนเช้า หลวงปู่ท้าวได้พาคณะสงฆ์ตลอดญาติโยมออกจากที่พักและเดินทางมาพักที่โนนหนองน้ำ เพราะเป็นเวลาพลบค่ำพอดี ตลอดที่พักแห่งนี้ หลวงปู่ท้าวได้ดูสภาพรอบๆ หนองน้ำแล้วเป็นที่เหมาะแก่การตั้งวัดและหมู่บ้าน จึงได้ร่วมปรึกษาหารือกันว่า เมื่อเรามาพบสถานที่อุดมสมบูรณ์แล้วเราควรจะสร้างวัดและตั้งบ้านเรือนให้ญาติโยมได้อาศัย พร้อมสถานที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์ทำไปจนถึงลูกหลานก็ใช้ไม่หมด  จึงได้พร้อมกันดำเนินการก่อสร้างวัดและสร้างหมู่บ้าน ซึ่งสาเหตุมาจากในขณะที่ปรึกษาหารืออยู่นั้นได้ข่าวจากคณะที่เดินทางไปก่อนหน้านี้ว่า การก่อสร้างพระธาตุพนมได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้นำหินศิลาทรายและวัตถุที่นำมานั้น นำมารวมกันแล้วสร้างเป็นวัดขึ้นที่โนนน้ำแห่งนั้น (ปัจจุบันคือที่ก่อตั้งวัดพระธาตุบุญตา) ส่วนญาติโยมที่ตามมาก็ขอให้เอาไม้บริเวณนั้น ไปสร้างที่อยู่อาศัย โดยมีการแบ่งกันเป็นคุ้มๆ จำนวน 7 คุ้ม เพื่อที่จะดูแลรักษาร่วมกัน เพราะช่วงที่อพยพมาบางแห่งก็ถูกโจรขโมยสิ่งของที่นำมา หลวงปู่ท้าวจึงให้อยู่รวมกันเป็นคุ้มๆ ดังนี้ 1. คุ้มหวงแหน  2. คุ้มโนนขวา  3. คุ้มโนนตาล  4. คุ้มขี้หมา  5. คุ้มโนนทัน  6. คุ้มโนนโพธิ์  7. คุ้มโนนขี้เหล็ก  และตั้งชื่อบ้านขึ้นว่า  บ้านพระเซา  ในขณะนั้นยังไม่มีการเลือกผู้ใหญ่บ้านและต่อมาได้ขอตั้งหมู่บ้าน ชื่อว่าบ้านพระเซา  ทางอำเภอจึงได้แต่งตั้งตามที่ขอไป เป็นบ้านพระเซา หมู่ที่ 1 และโนนรอบๆบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านพระเซา ได้มีกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ที่ตามมาทีหลัง ก็ได้หยุดตั้งบ้านเรือน และได้ขอตั้งเป็นหมู่บ้านเพิ่มอีก จำนวน 6 หมู่บ้าน ดังนี้1. บ้านพระเซา  2. บ้านปลาปึ่ง  3. บ้านโนนยาง  4. บ้านขาทราย  5. บ้านโนนงิ้ว  6. บ้านหัวดง  7. บ้านแดง
            บ้านพระเซาหลังจากที่ได้ขอตั้งหมู่บ้านแล้ว ทางราชการได้แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้าน โดยมีนายเบ้า     เวชจำปา เป็นผู้ใหญ่บ้าน และต่อมาได้มีการเลือกบ้านพระเซา เป็นตำบลพระเซา โดยนายเบ้า  เวชจำปา เป็นกำนันตำบลพระเซา โดยเป็นคนแรกของตำบล เมื่อปี พ.ศ. ........... และต่อมาได้มีการเลือกกำนันตำบลพระเซา  โดยมีนายสังข์  พวงพันธ์ เป็นกำนันคนที่สอง  นายพรหม   โสระมรรค เป็นกำนันคนที่สาม  ในช่วงที่นายพรหม  โสระมรรค ทำหน้าที่เป็นกำนั้น นั้น  การเรียกชื่อตำบลพระเซา ก็ได้เปลี่ยนเป็นตำบลพระเสาร์  ตามที่ชาวบ้านเรียกชื่อมาตามลำดับ นายมนู  ก้อนคำ เป็นกำนันคนที่สี่ นายผ่าน  วิชาพูล  เป็นกำนันคนที่ห้า  นายออน  ธรรมรักษ์  เป็นกำนันคนที่หก นายสมปอง  ผันผาย  เป็นกำนันคนที่เจ็ด  และนายชัยวัฒน์  ตะเคียน  เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ จนถึงปัจจุบัน
            บ้านพระเสาร์ ในช่วงที่กำนันผ่าน  วิชาพูล ดำรงตำแหน่งนั้น ได้ขอแยกหมู่บ้านพระเสาร์ ออกเป็นหมู่ที่ 8 ทางราชการจึงอนุมัติให้แยกได้  โดยนายหาญ  สิงห์คำ ได้เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 และมีนายประดิษฐ์  โสสะ เป็นผู้ใหญ่บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 (คนปัจจุบัน)

 
ด้านการปกครอง

              ตำบลพระเสาร์ เป็นตำบลติดเขตของจังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดศรีสะเกษ มีเส้นทางการคมนาคมเชื่อมกันตลอดและการสัญจรไปมาสะดวก  ถึงจะเป็นตำบลที่อยู่แนวเขตการติดต่อของสองจังหวัด ทำให้ประชาชนของตำบลพระเสาร์ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การค้าขาย ความสัมพันธ์ด้านการศึกษา การพัฒนา การประกอบอาชีพ ถือได้ว่าตำบลพระเสาร์ ได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ ดีขึ้นตามลำดับ ทั้งอุปนิสัยของประชาชน มีการเสียสละ อ่อนน้อมถ่อมตน คบง่าย ไม่ถือตัว และพร้อมเป็นมิตรกับทุกชุมชน
            ในช่วงปี 2535 ทางราชการได้ให้อำนาจของตำบลพระเสาร์ ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง โดยที่กำนันตำบลพระเสาร์ และผู้ใหญ่บ้านพร้อมด้วยผู้แทนของชาวบ้านที่เลือกเข้ามาเป็นคณะกรรมการสภาตำบล  หมู่บ้านละ 1 คน  เข้ามาทำหน้าที่แทนชุมชน เพื่อวางแผนการพัฒนาตำบลของตัวเองให้ได้รับความเจริญ ทัดเทียมตำบลข้างเคียง โดยท่านนายอำเภอนั้น คอยกำกับดูแลร่วมกับพัฒนาการอำเภอ เป็น  พี่เลี้ยงให้  ช่วงนายออน  ธรรมรักษ์ เป็นกำนัน และทำหน้าที่เป็นประธานคณะสภาตำบล โดยทำหน้าที่คราวละ 4 ปี  ก็ให้มีการเลือกผู้แทนหรือผู้ทรงคุณวุฒิ เข้ามาหมู่บ้านละ 1 คน ร่วมกับผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน แพทย์ประจำตำบล 1 คน ร่วมเป็นคณะสภาตำบล มีนายพยงค์  โสภา  ตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนบ้านพระเสาร์ ทำหน้าที่เลขานุการ และต่อมานายออน  ธรรมรักษ์ ได้ครบวาระการเป็นกำนัน ชาวบ้านได้เลือกนายสมปอง  ผันผาย เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ต่อ และได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการบริหาร ในปี พ.ศ. 2540  - 11 พ.ค. 2544 โดยมีนายธำรง เติมทรัพย์ ครูใหญ่โรงเรียนบ้านพระเสาร์ทำหน้าที่เป็นเลขาฯ และต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงจากสภาตำบล เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – 2552 และได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบลพระเสาร์ เข้ามาเป็นตัวแทนชาวบ้านมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ พร้อมได้ดำเนินการเลือก นายแพงศรี  แสนโคตร เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ เป็นผู้บริหาร พร้อมมีปลัดอรุณรัชช์  พรมนอก เป็นเลขานุการ  ทำให้ตำบลพระเสาร์ได้รับความเจริญในทุกๆด้าน ประชาชนอยู่ดี เป็นสุข การศึกษาก้าวหน้า ประชาชนมีอาชีพ สร้างรายได้สู่ครอบครัว  ดังคำขวัญตำบลพระเสาร์ ที่ว่า
                                    พระธาตุบุญตางามเด่น                   สงบเย็นหนองบัวแดง
                      ธรรมชาติแหล่งฝูงลิง                                    งามยิ่งผ้าไหมไทย
                     ฝักใฝ่สัจจะธรรม                                            ก้าวล้ำเศรษฐกิจ
                     ข้าวขาวหอมมะลิ                                           ประเพณีแห่บั้งไฟ

           

            ตำบลพระเสาร์  มีสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สักการะของชุมชนและผู้พบเห็น คือพระธาตุบุญตาที่วัดพระธาตุบุญตา และทุกปีชาวบ้านพระเสาร์ทั้ง 2 หมู่บ้าน ร่วมกับชุมชนต่างๆ จัดงานนมัสการ  พระธาตุบุญตาทุกปี และสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งที่บ้านปลาปึ่ง ก่อนจะถึงบ้านพระเสาร์ยังมีฝูงลิงซึ่งถือได้ว่าตำบลพระเสาร์มีตำบลในเขตอำเภอมหาชนะชัย ที่มีฝูงลิงอยู่เป็นจำนวนมาก และองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้จัดงานประเพณีเลี้ยงโต๊ะจีนลิง ซึ่งถือเป็นอีกรูปแบบหนึ่งในการอนุรักษ์เชิงท่องเที่ยวของตำบลพระเสาร์ ส่วนอีกสถานที่แห่งหนึ่ง คือ วัดป่าหนองบัวแดง ซึ่งตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 บ้าน    พระเสาร์  ซึ่งเป็นวัดสายวัดหนองป่าพง  สาขาที่ 140 เป็นสถานที่ที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลได้จัดงานปฏิบัติธรรมในทุกๆ ปี  อีกทั้งปัจจุบัน ทางวัดได้ก่อสร้างอุโบสถสองชั้น ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุโบสถที่มีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง
            ในด้านทรัพยากรธรรมชาติ  ในเขตตำบลพระเสาร์มีป่าสงวนอยู่ในพื้นที่ มีเนื้อที่พันกว่าไร่ ซึ่งภายในป่าสงวนถือเป็นป่าเศรษฐกิจของชุมชน โดยในหน้าแล้งชาวบ้านก็ออกหาแมลงขาย  หน้าฝนก็พากันเก็บเห็ดมาขายซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านได้เป็นอย่างดี และชาวบ้านในเขตตำบลพระเสาร์ได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล จัดกิจกรรมปลูกป่าเพื่อทดแทนป่าที่ตาย เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและช่วยกันดูแลผืนป่าแห่งนี้ เป็นอย่างดี ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก็ได้สนับสนุนงบประมาณในการดูแล บำรุงรักษาทุกปี ตลอดจนการประสานงานฝ่ายปกครองตำบลพระเสาร์ทุกหมู่บ้านและส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การสนับสนุน ดูแลรักษาป่า ทั้งระดับอำเภอ จังหวัด และระดับกรม ตามลำดับ 


ฐานข้อมูลการส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว
ตำบลพระเสาร์    อำเภอมหาชนะชัย   จังหวัดยโสธร

 

ลำดับที่ สถานที่ท่องเที่ยว ช่วงระยะเวลาดำเนินกิจกรรม ชื่อโครงการ หมายเหตุ
1 พระธาตุบุญตาบ้านพระเสาร์ เมษายน โครงการนมัสการพระธาตุบุญตา  
2 ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าบ้านปลาปึ่ง มีนาคม - เมษายน  โครงการจัดโต๊ะจีนลิง

 

 ประวัติความเป็นมาโดยย่อของบ้านพระเสาร์

          บ้านพระเสาร์   เดิมเป็นบ้านเก่าแก่ของขอม  (เขมร)  มาตั้งภูลำเนาอยู่เป็นระยะเวลาหลายร้อยปี  ขอมก็ได้อพยพหนีไปอยู่แห่งใหม่  มีภาชนะต่างๆ เช่นกระปุกปั้น  หม้อ  ไห  ขุดบึง คูณดินเป็นโนน  ขุดครองสิม  หนองปู่ตา เป็นหลักฐาน  ต่อมามีชนอยู่  2กลุ่ม คือ 

         1. อพยพมาจากศรีภูมิ   (สุวรรณภูมิ)

       2. พวกยือ  (ส่วย)  อพยพมาจากศรีษะเกษ  บ้านโพนข่า    โพนวัว ชน  2  กลุ่มได้รวมตัวกันจัดตั้งวัดขึ้นที่โนนหนองสิม  เป็นระยะเวลามานาน  1,000  กว่าปี  ต่อมามีเจ้าวัดชื่อ  หลวงพ่อมุม  มีชื่อเล่นว่าหลวงพ่อขี้เถ้าได้พาพระสงมาถางไร่  เพื่อปลูกมันเทศ   มันแกวหลวงพ่อก็เลยขุดบ่อน้ำ  พระสงฆ์ก็พากันอพยพมาสร้างกุฏิพออยู่ได้  ชาวบ้านเมื่อเห็นพระสงฆ์อพยพมาต่างก็พากันอพยพมาอยู่ด้วย

        ในสมัยนั้นได้ข่าวว่า  จังหวัดพนมไพรได้ก่อสร้างองค์พระธาตุขึ้น  พระสงฆ์และประชาชนจำนวนมากได้เดินทางผ่านสถานที่หมู่บ้านต่างๆ  จุดประสงค์ก็เพื่อนำปัจจัยสิ่งของอันมีค่าดังกล่าวไปสักการบูชาและบรรจุไว้กับองค์พระธาตุ

        ขณะนั้น บ้านพระเสาร์ยังไม่มีชื่อบ้านเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง  ชาวบ้านจำนวน  2  กลุ่ม จึงได้มาประชุมกันว่าจะตั้งชื่อหมู่บ้านว่าอย่างไรดี  เลยมีความคิดขึ้นว่า    พระสงฆ์ได้ธุดงค์มา  “เซา” คำว่า   “เซา” เป็นภาษาอิสานแปลว่า “พักผ่อน” จึงได้ตกลงกันให้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า  ”บ้านพระเซา” ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นบ้านพระเสาร์ 
            นานมาแล้วมีคณะสงฆ์จำนวน 500 รูป พร้อมญาติโยมจำนวนมากที่อพยพมาจากบ้านโพนข่า โพนงัว จังหวัดศรีสะเกษ และอพยพมาจากสุวรรณภูมิ มารวมกันเพื่อที่จะเดินทาง โดยได้นำก้อนหินศิลาทรายพร้อมด้วยเงินทองโดยการนำของหลวงปู่ท้าวไปร่วมก่อสร้างพระธาตุพนม (จังหวัดนครพนม ปัจจุบัน) แต่การเดินทางในครั้งนั้นไม่มีรถยนต์ ใช้วัวเทียมเกวียนและใช้คนหาบหามช่วยเหลือกัน ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น ตื่นเช้าก็ออกเดินทางต่อไป ซึ่งในขณะนั้นได้ออกเดินทางจากบ้านประสิว (บ้านคูเมือง ตำบลคูเมืองในปัจจุบัน) ตอนเช้า หลวงปู่ท้าวได้พาคณะสงฆ์ตลอดญาติโยมออกจากที่พักและเดินทางมาพักที่โนนหนองน้ำ เพราะเป็นเวลาพลบค่ำพอดี ตลอดที่พักแห่งนี้ หลวงปู่ท้าวได้ดูสภาพรอบๆ หนองน้ำแล้วเป็นที่เหมาะแก่การตั้งวัดและหมู่บ้าน จึงได้ร่วมปรึกษาหารือกันว่า เมื่อเรามาพบสถานที่อุดมสมบูรณ์แล้วเราควรจะสร้างวัดและตั้งบ้านเรือนให้ญาติโยมได้อาศัย พร้อมสถานที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์ทำไปจนถึงลูกหลานก็ใช้ไม่หมด  จึงได้พร้อมกันดำเนินการก่อสร้างวัดและสร้างหมู่บ้าน ซึ่งสาเหตุมาจากในขณะที่ปรึกษาหารืออยู่นั้นได้ข่าวจากคณะที่เดินทางไปก่อนหน้านี้ว่า การก่อสร้างพระธาตุพนมได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้นำหินศิลาทรายและวัตถุที่นำมานั้น นำมารวมกันแล้วสร้างเป็นวัดขึ้นที่โนนน้ำแห่งนั้น (ปัจจุบันคือที่ก่อตั้งวัดพระธาตุบุญตา) ส่วนญาติโยมที่ตามมาก็ขอให้เอาไม้บริเวณนั้น ไปสร้างที่อยู่อาศัย โดยมีการแบ่งกันเป็นคุ้มๆ จำนวน 7 คุ้ม เพื่อที่จะดูแลรักษาร่วมกัน เพราะช่วงที่อพยพมาบางแห่งก็ถูกโจรขโมยสิ่งของที่นำมา หลวงปู่ท้าวจึงให้อยู่รวมกันเป็นคุ้มๆ ดังนี้ 1. คุ้มหวงแหน  2. คุ้มโนนขวา  3. คุ้มโนนตาล  4. คุ้มขี้หมา  5. คุ้มโนนทัน  6. คุ้มโนนโพธิ์  7. คุ้มโนนขี้เหล็ก  และตั้งชื่อบ้านขึ้นว่า  บ้านพระเซา  ในขณะนั้นยังไม่มีการเลือกผู้ใหญ่บ้านและต่อมาได้ขอตั้งหมู่บ้าน ชื่อว่าบ้านพระเซา  ทางอำเภอจึงได้แต่งตั้งตามที่ขอไป เป็นบ้านพระเซา หมู่ที่ 1 และโนนรอบๆบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านพระเซา ได้มีกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ที่ตามมาทีหลัง ก็ได้หยุดตั้งบ้านเรือน และได้ขอตั้งเป็นหมู่บ้านเพิ่มอีก จำนวน 6 หมู่บ้าน ดังนี้1. บ้านพระเซา  2. บ้านปลาปึ่ง  3. บ้านโนนยาง  4. บ้านขาทราย  5. บ้านโนนงิ้ว  6. บ้านหัวดง  7. บ้านแดง
            บ้านพระเซาหลังจากที่ได้ขอตั้งหมู่บ้านแล้ว ทางราชการได้แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้าน โดยมีนายเบ้า     เวชจำปา เป็นผู้ใหญ่บ้าน และต่อมาได้มีการเลือกบ้านพระเซา เป็นตำบลพระเซา โดยนายเบ้า  เวชจำปา เป็นกำนันตำบลพระเซา โดยเป็นคนแรกของตำบล เมื่อปี พ.ศ. ........... และต่อมาได้มีการเลือกกำนันตำบลพระเซา  โดยมีนายสังข์  พวงพันธ์ เป็นกำนันคนที่สอง  นายพรหม   โสระมรรค เป็นกำนันคนที่สาม  ในช่วงที่นายพรหม  โสระมรรค ทำหน้าที่เป็นกำนั้น นั้น  การเรียกชื่อตำบลพระเซา ก็ได้เปลี่ยนเป็นตำบลพระเสาร์  ตามที่ชาวบ้านเรียกชื่อมาตามลำดับ นายมนู  ก้อนคำ เป็นกำนันคนที่สี่ นายผ่าน  วิชาพูล  เป็นกำนันคนที่ห้า  นายออน  ธรรมรักษ์  เป็นกำนันคนที่หก นายสมปอง  ผันผาย  เป็นกำนันคนที่เจ็ด  และนายชัยวัฒน์  ตะเคียน  เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ จนถึงปัจจุบัน
            บ้านพระเสาร์ ในช่วงที่กำนันผ่าน  วิชาพูล ดำรงตำแหน่งนั้น ได้ขอแยกหมู่บ้านพระเสาร์ ออกเป็นหมู่ที่ 8 ทางราชการจึงอนุมัติให้แยกได้  โดยนายหาญ  สิงห์คำ ได้เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 และมีนายประดิษฐ์  โสสะ เป็นผู้ใหญ่บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 (คนปัจจุบัน)

 
ด้านการปกครอง

              ตำบลพระเสาร์ เป็นตำบลติดเขตของจังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดศรีสะเกษ มีเส้นทางการคมนาคมเชื่อมกันตลอดและการสัญจรไปมาสะดวก  ถึงจะเป็นตำบลที่อยู่แนวเขตการติดต่อของสองจังหวัด ทำให้ประชาชนของตำบลพระเสาร์ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การค้าขาย ความสัมพันธ์ด้านการศึกษา การพัฒนา การประกอบอาชีพ ถือได้ว่าตำบลพระเสาร์ ได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ ดีขึ้นตามลำดับ ทั้งอุปนิสัยของประชาชน มีการเสียสละ อ่อนน้อมถ่อมตน คบง่าย ไม่ถือตัว และพร้อมเป็นมิตรกับทุกชุมชน
            ในช่วงปี 2535 ทางราชการได้ให้อำนาจของตำบลพระเสาร์ ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง โดยที่กำนันตำบลพระเสาร์ และผู้ใหญ่บ้านพร้อมด้วยผู้แทนของชาวบ้านที่เลือกเข้ามาเป็นคณะกรรมการสภาตำบล  หมู่บ้านละ 1 คน  เข้ามาทำหน้าที่แทนชุมชน เพื่อวางแผนการพัฒนาตำบลของตัวเองให้ได้รับความเจริญ ทัดเทียมตำบลข้างเคียง โดยท่านนายอำเภอนั้น คอยกำกับดูแลร่วมกับพัฒนาการอำเภอ เป็น  พี่เลี้ยงให้  ช่วงนายออน  ธรรมรักษ์ เป็นกำนัน และทำหน้าที่เป็นประธานคณะสภาตำบล โดยทำหน้าที่คราวละ 4 ปี  ก็ให้มีการเลือกผู้แทนหรือผู้ทรงคุณวุฒิ เข้ามาหมู่บ้านละ 1 คน ร่วมกับผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน แพทย์ประจำตำบล 1 คน ร่วมเป็นคณะสภาตำบล มีนายพยงค์  โสภา  ตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนบ้านพระเสาร์ ทำหน้าที่เลขานุการ และต่อมานายออน  ธรรมรักษ์ ได้ครบวาระการเป็นกำนัน ชาวบ้านได้เลือกนายสมปอง  ผันผาย เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ต่อ และได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการบริหาร ในปี พ.ศ. 2540  - 11 พ.ค. 2544 โดยมีนายธำรง เติมทรัพย์ ครูใหญ่โรงเรียนบ้านพระเสาร์ทำหน้าที่เป็นเลขาฯ และต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงจากสภาตำบล เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – 2552 และได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบลพระเสาร์ เข้ามาเป็นตัวแทนชาวบ้านมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ พร้อมได้ดำเนินการเลือก นายแพงศรี  แสนโคตร เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ เป็นผู้บริหาร พร้อมมีปลัดอรุณรัชช์  พรมนอก เป็นเลขานุการ  ทำให้ตำบลพระเสาร์ได้รับความเจริญในทุกๆด้าน ประชาชนอยู่ดี เป็นสุข การศึกษาก้าวหน้า ประชาชนมีอาชีพ สร้างรายได้สู่ครอบครัว  ดังคำขวัญตำบลพระเสาร์ ที่ว่า
                                    พระธาตุบุญตางามเด่น                   สงบเย็นหนองบัวแดง
                      ธรรมชาติแหล่งฝูงลิง                                    งามยิ่งผ้าไหมไทย
                     ฝักใฝ่สัจจะธรรม                                            ก้าวล้ำเศรษฐกิจ
                     ข้าวขาวหอมมะลิ                                           ประเพณีแห่บั้งไฟ

           

            ตำบลพระเสาร์  มีสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สักการะของชุมชนและผู้พบเห็น คือพระธาตุบุญตาที่วัดพระธาตุบุญตา และทุกปีชาวบ้านพระเสาร์ทั้ง 2 หมู่บ้าน ร่วมกับชุมชนต่างๆ จัดงานนมัสการ  พระธาตุบุญตาทุกปี และสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งที่บ้านปลาปึ่ง ก่อนจะถึงบ้านพระเสาร์ยังมีฝูงลิงซึ่งถือได้ว่าตำบลพระเสาร์มีตำบลในเขตอำเภอมหาชนะชัย ที่มีฝูงลิงอยู่เป็นจำนวนมาก และองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้จัดงานประเพณีเลี้ยงโต๊ะจีนลิง ซึ่งถือเป็นอีกรูปแบบหนึ่งในการอนุรักษ์เชิงท่องเที่ยวของตำบลพระเสาร์ ส่วนอีกสถานที่แห่งหนึ่ง คือ วัดป่าหนองบัวแดง ซึ่งตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 บ้าน    พระเสาร์  ซึ่งเป็นวัดสายวัดหนองป่าพง  สาขาที่ 140 เป็นสถานที่ที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลได้จัดงานปฏิบัติธรรมในทุกๆ ปี  อีกทั้งปัจจุบัน ทางวัดได้ก่อสร้างอุโบสถสองชั้น ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุโบสถที่มีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง
            ในด้านทรัพยากรธรรมชาติ  ในเขตตำบลพระเสาร์มีป่าสงวนอยู่ในพื้นที่ มีเนื้อที่พันกว่าไร่ ซึ่งภายในป่าสงวนถือเป็นป่าเศรษฐกิจของชุมชน โดยในหน้าแล้งชาวบ้านก็ออกหาแมลงขาย  หน้าฝนก็พากันเก็บเห็ดมาขายซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านได้เป็นอย่างดี และชาวบ้านในเขตตำบลพระเสาร์ได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล จัดกิจกรรมปลูกป่าเพื่อทดแทนป่าที่ตาย เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและช่วยกันดูแลผืนป่าแห่งนี้ เป็นอย่างดี ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก็ได้สนับสนุนงบประมาณในการดูแล บำรุงรักษาทุกปี ตลอดจนการประสานงานฝ่ายปกครองตำบลพระเสาร์ทุกหมู่บ้านและส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การสนับสนุน ดูแลรักษาป่า ทั้งระดับอำเภอ จังหวัด และระดับกรม ตามลำดับ 


ฐานข้อมูลการส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว
ตำบลพระเสาร์    อำเภอมหาชนะชัย   จังหวัดยโสธร

 

ลำดับที่ สถานที่ท่องเที่ยว ช่วงระยะเวลาดำเนินกิจกรรม ชื่อโครงการ หมายเหตุ
1 พระธาตุบุญตาบ้านพระเสาร์ เมษายน โครงการนมัสการพระธาตุบุญตา  
2 ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าบ้านปลาปึ่ง มีนาคม - เมษายน  โครงการจัดโต๊ะจีนลิง

 

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:

 ประวัติความเป็นมาโดยย่อของบ้านพระเสาร์

          บ้านพระเสาร์   เดิมเป็นบ้านเก่าแก่ของขอม  (เขมร)  มาตั้งภูลำเนาอยู่เป็นระยะเวลาหลายร้อยปี  ขอมก็ได้อพยพหนีไปอยู่แห่งใหม่  มีภาชนะต่างๆ เช่นกระปุกปั้น  หม้อ  ไห  ขุดบึง คูณดินเป็นโนน  ขุดครองสิม  หนองปู่ตา เป็นหลักฐาน  ต่อมามีชนอยู่  2กลุ่ม คือ 

         1. อพยพมาจากศรีภูมิ   (สุวรรณภูมิ)

       2. พวกยือ  (ส่วย)  อพยพมาจากศรีษะเกษ  บ้านโพนข่า    โพนวัว ชน  2  กลุ่มได้รวมตัวกันจัดตั้งวัดขึ้นที่โนนหนองสิม  เป็นระยะเวลามานาน  1,000  กว่าปี  ต่อมามีเจ้าวัดชื่อ  หลวงพ่อมุม  มีชื่อเล่นว่าหลวงพ่อขี้เถ้าได้พาพระสงมาถางไร่  เพื่อปลูกมันเทศ   มันแกวหลวงพ่อก็เลยขุดบ่อน้ำ  พระสงฆ์ก็พากันอพยพมาสร้างกุฏิพออยู่ได้  ชาวบ้านเมื่อเห็นพระสงฆ์อพยพมาต่างก็พากันอพยพมาอยู่ด้วย

        ในสมัยนั้นได้ข่าวว่า  จังหวัดพนมไพรได้ก่อสร้างองค์พระธาตุขึ้น  พระสงฆ์และประชาชนจำนวนมากได้เดินทางผ่านสถานที่หมู่บ้านต่างๆ  จุดประสงค์ก็เพื่อนำปัจจัยสิ่งของอันมีค่าดังกล่าวไปสักการบูชาและบรรจุไว้กับองค์พระธาตุ

        ขณะนั้น บ้านพระเสาร์ยังไม่มีชื่อบ้านเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง  ชาวบ้านจำนวน  2  กลุ่ม จึงได้มาประชุมกันว่าจะตั้งชื่อหมู่บ้านว่าอย่างไรดี  เลยมีความคิดขึ้นว่า    พระสงฆ์ได้ธุดงค์มา  “เซา” คำว่า   “เซา” เป็นภาษาอิสานแปลว่า “พักผ่อน” จึงได้ตกลงกันให้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า  ”บ้านพระเซา” ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นบ้านพระเสาร์ 
            นานมาแล้วมีคณะสงฆ์จำนวน 500 รูป พร้อมญาติโยมจำนวนมากที่อพยพมาจากบ้านโพนข่า โพนงัว จังหวัดศรีสะเกษ และอพยพมาจากสุวรรณภูมิ มารวมกันเพื่อที่จะเดินทาง โดยได้นำก้อนหินศิลาทรายพร้อมด้วยเงินทองโดยการนำของหลวงปู่ท้าวไปร่วมก่อสร้างพระธาตุพนม (จังหวัดนครพนม ปัจจุบัน) แต่การเดินทางในครั้งนั้นไม่มีรถยนต์ ใช้วัวเทียมเกวียนและใช้คนหาบหามช่วยเหลือกัน ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น ตื่นเช้าก็ออกเดินทางต่อไป ซึ่งในขณะนั้นได้ออกเดินทางจากบ้านประสิว (บ้านคูเมือง ตำบลคูเมืองในปัจจุบัน) ตอนเช้า หลวงปู่ท้าวได้พาคณะสงฆ์ตลอดญาติโยมออกจากที่พักและเดินทางมาพักที่โนนหนองน้ำ เพราะเป็นเวลาพลบค่ำพอดี ตลอดที่พักแห่งนี้ หลวงปู่ท้าวได้ดูสภาพรอบๆ หนองน้ำแล้วเป็นที่เหมาะแก่การตั้งวัดและหมู่บ้าน จึงได้ร่วมปรึกษาหารือกันว่า เมื่อเรามาพบสถานที่อุดมสมบูรณ์แล้วเราควรจะสร้างวัดและตั้งบ้านเรือนให้ญาติโยมได้อาศัย พร้อมสถานที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์ทำไปจนถึงลูกหลานก็ใช้ไม่หมด  จึงได้พร้อมกันดำเนินการก่อสร้างวัดและสร้างหมู่บ้าน ซึ่งสาเหตุมาจากในขณะที่ปรึกษาหารืออยู่นั้นได้ข่าวจากคณะที่เดินทางไปก่อนหน้านี้ว่า การก่อสร้างพระธาตุพนมได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้นำหินศิลาทรายและวัตถุที่นำมานั้น นำมารวมกันแล้วสร้างเป็นวัดขึ้นที่โนนน้ำแห่งนั้น (ปัจจุบันคือที่ก่อตั้งวัดพระธาตุบุญตา) ส่วนญาติโยมที่ตามมาก็ขอให้เอาไม้บริเวณนั้น ไปสร้างที่อยู่อาศัย โดยมีการแบ่งกันเป็นคุ้มๆ จำนวน 7 คุ้ม เพื่อที่จะดูแลรักษาร่วมกัน เพราะช่วงที่อพยพมาบางแห่งก็ถูกโจรขโมยสิ่งของที่นำมา หลวงปู่ท้าวจึงให้อยู่รวมกันเป็นคุ้มๆ ดังนี้ 1. คุ้มหวงแหน  2. คุ้มโนนขวา  3. คุ้มโนนตาล  4. คุ้มขี้หมา  5. คุ้มโนนทัน  6. คุ้มโนนโพธิ์  7. คุ้มโนนขี้เหล็ก  และตั้งชื่อบ้านขึ้นว่า  บ้านพระเซา  ในขณะนั้นยังไม่มีการเลือกผู้ใหญ่บ้านและต่อมาได้ขอตั้งหมู่บ้าน ชื่อว่าบ้านพระเซา  ทางอำเภอจึงได้แต่งตั้งตามที่ขอไป เป็นบ้านพระเซา หมู่ที่ 1 และโนนรอบๆบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านพระเซา ได้มีกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ที่ตามมาทีหลัง ก็ได้หยุดตั้งบ้านเรือน และได้ขอตั้งเป็นหมู่บ้านเพิ่มอีก จำนวน 6 หมู่บ้าน ดังนี้1. บ้านพระเซา  2. บ้านปลาปึ่ง  3. บ้านโนนยาง  4. บ้านขาทราย  5. บ้านโนนงิ้ว  6. บ้านหัวดง  7. บ้านแดง
            บ้านพระเซาหลังจากที่ได้ขอตั้งหมู่บ้านแล้ว ทางราชการได้แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้าน โดยมีนายเบ้า     เวชจำปา เป็นผู้ใหญ่บ้าน และต่อมาได้มีการเลือกบ้านพระเซา เป็นตำบลพระเซา โดยนายเบ้า  เวชจำปา เป็นกำนันตำบลพระเซา โดยเป็นคนแรกของตำบล เมื่อปี พ.ศ. ........... และต่อมาได้มีการเลือกกำนันตำบลพระเซา  โดยมีนายสังข์  พวงพันธ์ เป็นกำนันคนที่สอง  นายพรหม   โสระมรรค เป็นกำนันคนที่สาม  ในช่วงที่นายพรหม  โสระมรรค ทำหน้าที่เป็นกำนั้น นั้น  การเรียกชื่อตำบลพระเซา ก็ได้เปลี่ยนเป็นตำบลพระเสาร์  ตามที่ชาวบ้านเรียกชื่อมาตามลำดับ นายมนู  ก้อนคำ เป็นกำนันคนที่สี่ นายผ่าน  วิชาพูล  เป็นกำนันคนที่ห้า  นายออน  ธรรมรักษ์  เป็นกำนันคนที่หก นายสมปอง  ผันผาย  เป็นกำนันคนที่เจ็ด  และนายชัยวัฒน์  ตะเคียน  เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ จนถึงปัจจุบัน
            บ้านพระเสาร์ ในช่วงที่กำนันผ่าน  วิชาพูล ดำรงตำแหน่งนั้น ได้ขอแยกหมู่บ้านพระเสาร์ ออกเป็นหมู่ที่ 8 ทางราชการจึงอนุมัติให้แยกได้  โดยนายหาญ  สิงห์คำ ได้เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 และมีนายประดิษฐ์  โสสะ เป็นผู้ใหญ่บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 (คนปัจจุบัน)

 
ด้านการปกครอง

              ตำบลพระเสาร์ เป็นตำบลติดเขตของจังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดศรีสะเกษ มีเส้นทางการคมนาคมเชื่อมกันตลอดและการสัญจรไปมาสะดวก  ถึงจะเป็นตำบลที่อยู่แนวเขตการติดต่อของสองจังหวัด ทำให้ประชาชนของตำบลพระเสาร์ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การค้าขาย ความสัมพันธ์ด้านการศึกษา การพัฒนา การประกอบอาชีพ ถือได้ว่าตำบลพระเสาร์ ได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ ดีขึ้นตามลำดับ ทั้งอุปนิสัยของประชาชน มีการเสียสละ อ่อนน้อมถ่อมตน คบง่าย ไม่ถือตัว และพร้อมเป็นมิตรกับทุกชุมชน
            ในช่วงปี 2535 ทางราชการได้ให้อำนาจของตำบลพระเสาร์ ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง โดยที่กำนันตำบลพระเสาร์ และผู้ใหญ่บ้านพร้อมด้วยผู้แทนของชาวบ้านที่เลือกเข้ามาเป็นคณะกรรมการสภาตำบล  หมู่บ้านละ 1 คน  เข้ามาทำหน้าที่แทนชุมชน เพื่อวางแผนการพัฒนาตำบลของตัวเองให้ได้รับความเจริญ ทัดเทียมตำบลข้างเคียง โดยท่านนายอำเภอนั้น คอยกำกับดูแลร่วมกับพัฒนาการอำเภอ เป็น  พี่เลี้ยงให้  ช่วงนายออน  ธรรมรักษ์ เป็นกำนัน และทำหน้าที่เป็นประธานคณะสภาตำบล โดยทำหน้าที่คราวละ 4 ปี  ก็ให้มีการเลือกผู้แทนหรือผู้ทรงคุณวุฒิ เข้ามาหมู่บ้านละ 1 คน ร่วมกับผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน แพทย์ประจำตำบล 1 คน ร่วมเป็นคณะสภาตำบล มีนายพยงค์  โสภา  ตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนบ้านพระเสาร์ ทำหน้าที่เลขานุการ และต่อมานายออน  ธรรมรักษ์ ได้ครบวาระการเป็นกำนัน ชาวบ้านได้เลือกนายสมปอง  ผันผาย เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ต่อ และได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการบริหาร ในปี พ.ศ. 2540  - 11 พ.ค. 2544 โดยมีนายธำรง เติมทรัพย์ ครูใหญ่โรงเรียนบ้านพระเสาร์ทำหน้าที่เป็นเลขาฯ และต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงจากสภาตำบล เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – 2552 และได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบลพระเสาร์ เข้ามาเป็นตัวแทนชาวบ้านมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ พร้อมได้ดำเนินการเลือก นายแพงศรี  แสนโคตร เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ เป็นผู้บริหาร พร้อมมีปลัดอรุณรัชช์  พรมนอก เป็นเลขานุการ  ทำให้ตำบลพระเสาร์ได้รับความเจริญในทุกๆด้าน ประชาชนอยู่ดี เป็นสุข การศึกษาก้าวหน้า ประชาชนมีอาชีพ สร้างรายได้สู่ครอบครัว  ดังคำขวัญตำบลพระเสาร์ ที่ว่า
                                    พระธาตุบุญตางามเด่น                   สงบเย็นหนองบัวแดง
                      ธรรมชาติแหล่งฝูงลิง                                    งามยิ่งผ้าไหมไทย
                     ฝักใฝ่สัจจะธรรม                                            ก้าวล้ำเศรษฐกิจ
                     ข้าวขาวหอมมะลิ                                           ประเพณีแห่บั้งไฟ

           

            ตำบลพระเสาร์  มีสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สักการะของชุมชนและผู้พบเห็น คือพระธาตุบุญตาที่วัดพระธาตุบุญตา และทุกปีชาวบ้านพระเสาร์ทั้ง 2 หมู่บ้าน ร่วมกับชุมชนต่างๆ จัดงานนมัสการ  พระธาตุบุญตาทุกปี และสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งที่บ้านปลาปึ่ง ก่อนจะถึงบ้านพระเสาร์ยังมีฝูงลิงซึ่งถือได้ว่าตำบลพระเสาร์มีตำบลในเขตอำเภอมหาชนะชัย ที่มีฝูงลิงอยู่เป็นจำนวนมาก และองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้จัดงานประเพณีเลี้ยงโต๊ะจีนลิง ซึ่งถือเป็นอีกรูปแบบหนึ่งในการอนุรักษ์เชิงท่องเที่ยวของตำบลพระเสาร์ ส่วนอีกสถานที่แห่งหนึ่ง คือ วัดป่าหนองบัวแดง ซึ่งตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 บ้าน    พระเสาร์  ซึ่งเป็นวัดสายวัดหนองป่าพง  สาขาที่ 140 เป็นสถานที่ที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลได้จัดงานปฏิบัติธรรมในทุกๆ ปี  อีกทั้งปัจจุบัน ทางวัดได้ก่อสร้างอุโบสถสองชั้น ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุโบสถที่มีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง
            ในด้านทรัพยากรธรรมชาติ  ในเขตตำบลพระเสาร์มีป่าสงวนอยู่ในพื้นที่ มีเนื้อที่พันกว่าไร่ ซึ่งภายในป่าสงวนถือเป็นป่าเศรษฐกิจของชุมชน โดยในหน้าแล้งชาวบ้านก็ออกหาแมลงขาย  หน้าฝนก็พากันเก็บเห็ดมาขายซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านได้เป็นอย่างดี และชาวบ้านในเขตตำบลพระเสาร์ได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล จัดกิจกรรมปลูกป่าเพื่อทดแทนป่าที่ตาย เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและช่วยกันดูแลผืนป่าแห่งนี้ เป็นอย่างดี ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก็ได้สนับสนุนงบประมาณในการดูแล บำรุงรักษาทุกปี ตลอดจนการประสานงานฝ่ายปกครองตำบลพระเสาร์ทุกหมู่บ้านและส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การสนับสนุน ดูแลรักษาป่า ทั้งระดับอำเภอ จังหวัด และระดับกรม ตามลำดับ 


ฐานข้อมูลการส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว
ตำบลพระเสาร์    อำเภอมหาชนะชัย   จังหวัดยโสธร

 

ลำดับที่ สถานที่ท่องเที่ยว ช่วงระยะเวลาดำเนินกิจกรรม ชื่อโครงการ หมายเหตุ
1 พระธาตุบุญตาบ้านพระเสาร์ เมษายน โครงการนมัสการพระธาตุบุญตา  
2 ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าบ้านปลาปึ่ง มีนาคม - เมษายน  โครงการจัดโต๊ะจีนลิง

 

../add_file/

 ประวัติความเป็นมาโดยย่อของบ้านพระเสาร์

          บ้านพระเสาร์   เดิมเป็นบ้านเก่าแก่ของขอม  (เขมร)  มาตั้งภูลำเนาอยู่เป็นระยะเวลาหลายร้อยปี  ขอมก็ได้อพยพหนีไปอยู่แห่งใหม่  มีภาชนะต่างๆ เช่นกระปุกปั้น  หม้อ  ไห  ขุดบึง คูณดินเป็นโนน  ขุดครองสิม  หนองปู่ตา เป็นหลักฐาน  ต่อมามีชนอยู่  2กลุ่ม คือ 

         1. อพยพมาจากศรีภูมิ   (สุวรรณภูมิ)

       2. พวกยือ  (ส่วย)  อพยพมาจากศรีษะเกษ  บ้านโพนข่า    โพนวัว ชน  2  กลุ่มได้รวมตัวกันจัดตั้งวัดขึ้นที่โนนหนองสิม  เป็นระยะเวลามานาน  1,000  กว่าปี  ต่อมามีเจ้าวัดชื่อ  หลวงพ่อมุม  มีชื่อเล่นว่าหลวงพ่อขี้เถ้าได้พาพระสงมาถางไร่  เพื่อปลูกมันเทศ   มันแกวหลวงพ่อก็เลยขุดบ่อน้ำ  พระสงฆ์ก็พากันอพยพมาสร้างกุฏิพออยู่ได้  ชาวบ้านเมื่อเห็นพระสงฆ์อพยพมาต่างก็พากันอพยพมาอยู่ด้วย

        ในสมัยนั้นได้ข่าวว่า  จังหวัดพนมไพรได้ก่อสร้างองค์พระธาตุขึ้น  พระสงฆ์และประชาชนจำนวนมากได้เดินทางผ่านสถานที่หมู่บ้านต่างๆ  จุดประสงค์ก็เพื่อนำปัจจัยสิ่งของอันมีค่าดังกล่าวไปสักการบูชาและบรรจุไว้กับองค์พระธาตุ

        ขณะนั้น บ้านพระเสาร์ยังไม่มีชื่อบ้านเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง  ชาวบ้านจำนวน  2  กลุ่ม จึงได้มาประชุมกันว่าจะตั้งชื่อหมู่บ้านว่าอย่างไรดี  เลยมีความคิดขึ้นว่า    พระสงฆ์ได้ธุดงค์มา  “เซา” คำว่า   “เซา” เป็นภาษาอิสานแปลว่า “พักผ่อน” จึงได้ตกลงกันให้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า  ”บ้านพระเซา” ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นบ้านพระเสาร์ 
            นานมาแล้วมีคณะสงฆ์จำนวน 500 รูป พร้อมญาติโยมจำนวนมากที่อพยพมาจากบ้านโพนข่า โพนงัว จังหวัดศรีสะเกษ และอพยพมาจากสุวรรณภูมิ มารวมกันเพื่อที่จะเดินทาง โดยได้นำก้อนหินศิลาทรายพร้อมด้วยเงินทองโดยการนำของหลวงปู่ท้าวไปร่วมก่อสร้างพระธาตุพนม (จังหวัดนครพนม ปัจจุบัน) แต่การเดินทางในครั้งนั้นไม่มีรถยนต์ ใช้วัวเทียมเกวียนและใช้คนหาบหามช่วยเหลือกัน ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น ตื่นเช้าก็ออกเดินทางต่อไป ซึ่งในขณะนั้นได้ออกเดินทางจากบ้านประสิว (บ้านคูเมือง ตำบลคูเมืองในปัจจุบัน) ตอนเช้า หลวงปู่ท้าวได้พาคณะสงฆ์ตลอดญาติโยมออกจากที่พักและเดินทางมาพักที่โนนหนองน้ำ เพราะเป็นเวลาพลบค่ำพอดี ตลอดที่พักแห่งนี้ หลวงปู่ท้าวได้ดูสภาพรอบๆ หนองน้ำแล้วเป็นที่เหมาะแก่การตั้งวัดและหมู่บ้าน จึงได้ร่วมปรึกษาหารือกันว่า เมื่อเรามาพบสถานที่อุดมสมบูรณ์แล้วเราควรจะสร้างวัดและตั้งบ้านเรือนให้ญาติโยมได้อาศัย พร้อมสถานที่แห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์ทำไปจนถึงลูกหลานก็ใช้ไม่หมด  จึงได้พร้อมกันดำเนินการก่อสร้างวัดและสร้างหมู่บ้าน ซึ่งสาเหตุมาจากในขณะที่ปรึกษาหารืออยู่นั้นได้ข่าวจากคณะที่เดินทางไปก่อนหน้านี้ว่า การก่อสร้างพระธาตุพนมได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้นำหินศิลาทรายและวัตถุที่นำมานั้น นำมารวมกันแล้วสร้างเป็นวัดขึ้นที่โนนน้ำแห่งนั้น (ปัจจุบันคือที่ก่อตั้งวัดพระธาตุบุญตา) ส่วนญาติโยมที่ตามมาก็ขอให้เอาไม้บริเวณนั้น ไปสร้างที่อยู่อาศัย โดยมีการแบ่งกันเป็นคุ้มๆ จำนวน 7 คุ้ม เพื่อที่จะดูแลรักษาร่วมกัน เพราะช่วงที่อพยพมาบางแห่งก็ถูกโจรขโมยสิ่งของที่นำมา หลวงปู่ท้าวจึงให้อยู่รวมกันเป็นคุ้มๆ ดังนี้ 1. คุ้มหวงแหน  2. คุ้มโนนขวา  3. คุ้มโนนตาล  4. คุ้มขี้หมา  5. คุ้มโนนทัน  6. คุ้มโนนโพธิ์  7. คุ้มโนนขี้เหล็ก  และตั้งชื่อบ้านขึ้นว่า  บ้านพระเซา  ในขณะนั้นยังไม่มีการเลือกผู้ใหญ่บ้านและต่อมาได้ขอตั้งหมู่บ้าน ชื่อว่าบ้านพระเซา  ทางอำเภอจึงได้แต่งตั้งตามที่ขอไป เป็นบ้านพระเซา หมู่ที่ 1 และโนนรอบๆบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านพระเซา ได้มีกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ที่ตามมาทีหลัง ก็ได้หยุดตั้งบ้านเรือน และได้ขอตั้งเป็นหมู่บ้านเพิ่มอีก จำนวน 6 หมู่บ้าน ดังนี้1. บ้านพระเซา  2. บ้านปลาปึ่ง  3. บ้านโนนยาง  4. บ้านขาทราย  5. บ้านโนนงิ้ว  6. บ้านหัวดง  7. บ้านแดง
            บ้านพระเซาหลังจากที่ได้ขอตั้งหมู่บ้านแล้ว ทางราชการได้แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้าน โดยมีนายเบ้า     เวชจำปา เป็นผู้ใหญ่บ้าน และต่อมาได้มีการเลือกบ้านพระเซา เป็นตำบลพระเซา โดยนายเบ้า  เวชจำปา เป็นกำนันตำบลพระเซา โดยเป็นคนแรกของตำบล เมื่อปี พ.ศ. ........... และต่อมาได้มีการเลือกกำนันตำบลพระเซา  โดยมีนายสังข์  พวงพันธ์ เป็นกำนันคนที่สอง  นายพรหม   โสระมรรค เป็นกำนันคนที่สาม  ในช่วงที่นายพรหม  โสระมรรค ทำหน้าที่เป็นกำนั้น นั้น  การเรียกชื่อตำบลพระเซา ก็ได้เปลี่ยนเป็นตำบลพระเสาร์  ตามที่ชาวบ้านเรียกชื่อมาตามลำดับ นายมนู  ก้อนคำ เป็นกำนันคนที่สี่ นายผ่าน  วิชาพูล  เป็นกำนันคนที่ห้า  นายออน  ธรรมรักษ์  เป็นกำนันคนที่หก นายสมปอง  ผันผาย  เป็นกำนันคนที่เจ็ด  และนายชัยวัฒน์  ตะเคียน  เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ จนถึงปัจจุบัน
            บ้านพระเสาร์ ในช่วงที่กำนันผ่าน  วิชาพูล ดำรงตำแหน่งนั้น ได้ขอแยกหมู่บ้านพระเสาร์ ออกเป็นหมู่ที่ 8 ทางราชการจึงอนุมัติให้แยกได้  โดยนายหาญ  สิงห์คำ ได้เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 8 และมีนายประดิษฐ์  โสสะ เป็นผู้ใหญ่บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 (คนปัจจุบัน)

 
ด้านการปกครอง

              ตำบลพระเสาร์ เป็นตำบลติดเขตของจังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดศรีสะเกษ มีเส้นทางการคมนาคมเชื่อมกันตลอดและการสัญจรไปมาสะดวก  ถึงจะเป็นตำบลที่อยู่แนวเขตการติดต่อของสองจังหวัด ทำให้ประชาชนของตำบลพระเสาร์ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การค้าขาย ความสัมพันธ์ด้านการศึกษา การพัฒนา การประกอบอาชีพ ถือได้ว่าตำบลพระเสาร์ ได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ ดีขึ้นตามลำดับ ทั้งอุปนิสัยของประชาชน มีการเสียสละ อ่อนน้อมถ่อมตน คบง่าย ไม่ถือตัว และพร้อมเป็นมิตรกับทุกชุมชน
            ในช่วงปี 2535 ทางราชการได้ให้อำนาจของตำบลพระเสาร์ ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง โดยที่กำนันตำบลพระเสาร์ และผู้ใหญ่บ้านพร้อมด้วยผู้แทนของชาวบ้านที่เลือกเข้ามาเป็นคณะกรรมการสภาตำบล  หมู่บ้านละ 1 คน  เข้ามาทำหน้าที่แทนชุมชน เพื่อวางแผนการพัฒนาตำบลของตัวเองให้ได้รับความเจริญ ทัดเทียมตำบลข้างเคียง โดยท่านนายอำเภอนั้น คอยกำกับดูแลร่วมกับพัฒนาการอำเภอ เป็น  พี่เลี้ยงให้  ช่วงนายออน  ธรรมรักษ์ เป็นกำนัน และทำหน้าที่เป็นประธานคณะสภาตำบล โดยทำหน้าที่คราวละ 4 ปี  ก็ให้มีการเลือกผู้แทนหรือผู้ทรงคุณวุฒิ เข้ามาหมู่บ้านละ 1 คน ร่วมกับผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน แพทย์ประจำตำบล 1 คน ร่วมเป็นคณะสภาตำบล มีนายพยงค์  โสภา  ตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนบ้านพระเสาร์ ทำหน้าที่เลขานุการ และต่อมานายออน  ธรรมรักษ์ ได้ครบวาระการเป็นกำนัน ชาวบ้านได้เลือกนายสมปอง  ผันผาย เป็นกำนันตำบลพระเสาร์ต่อ และได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการบริหาร ในปี พ.ศ. 2540  - 11 พ.ค. 2544 โดยมีนายธำรง เติมทรัพย์ ครูใหญ่โรงเรียนบ้านพระเสาร์ทำหน้าที่เป็นเลขาฯ และต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงจากสภาตำบล เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์  ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 – 2552 และได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบลพระเสาร์ เข้ามาเป็นตัวแทนชาวบ้านมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ พร้อมได้ดำเนินการเลือก นายแพงศรี  แสนโคตร เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ เป็นผู้บริหาร พร้อมมีปลัดอรุณรัชช์  พรมนอก เป็นเลขานุการ  ทำให้ตำบลพระเสาร์ได้รับความเจริญในทุกๆด้าน ประชาชนอยู่ดี เป็นสุข การศึกษาก้าวหน้า ประชาชนมีอาชีพ สร้างรายได้สู่ครอบครัว  ดังคำขวัญตำบลพระเสาร์ ที่ว่า
                                    พระธาตุบุญตางามเด่น                   สงบเย็นหนองบัวแดง
                      ธรรมชาติแหล่งฝูงลิง                                    งามยิ่งผ้าไหมไทย
                     ฝักใฝ่สัจจะธรรม                                            ก้าวล้ำเศรษฐกิจ
                     ข้าวขาวหอมมะลิ                                           ประเพณีแห่บั้งไฟ

           

            ตำบลพระเสาร์  มีสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สักการะของชุมชนและผู้พบเห็น คือพระธาตุบุญตาที่วัดพระธาตุบุญตา และทุกปีชาวบ้านพระเสาร์ทั้ง 2 หมู่บ้าน ร่วมกับชุมชนต่างๆ จัดงานนมัสการ  พระธาตุบุญตาทุกปี และสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งที่บ้านปลาปึ่ง ก่อนจะถึงบ้านพระเสาร์ยังมีฝูงลิงซึ่งถือได้ว่าตำบลพระเสาร์มีตำบลในเขตอำเภอมหาชนะชัย ที่มีฝูงลิงอยู่เป็นจำนวนมาก และองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้จัดงานประเพณีเลี้ยงโต๊ะจีนลิง ซึ่งถือเป็นอีกรูปแบบหนึ่งในการอนุรักษ์เชิงท่องเที่ยวของตำบลพระเสาร์ ส่วนอีกสถานที่แห่งหนึ่ง คือ วัดป่าหนองบัวแดง ซึ่งตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 บ้าน    พระเสาร์  ซึ่งเป็นวัดสายวัดหนองป่าพง  สาขาที่ 140 เป็นสถานที่ที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลได้จัดงานปฏิบัติธรรมในทุกๆ ปี  อีกทั้งปัจจุบัน ทางวัดได้ก่อสร้างอุโบสถสองชั้น ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุโบสถที่มีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง
            ในด้านทรัพยากรธรรมชาติ  ในเขตตำบลพระเสาร์มีป่าสงวนอยู่ในพื้นที่ มีเนื้อที่พันกว่าไร่ ซึ่งภายในป่าสงวนถือเป็นป่าเศรษฐกิจของชุมชน โดยในหน้าแล้งชาวบ้านก็ออกหาแมลงขาย  หน้าฝนก็พากันเก็บเห็ดมาขายซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้กับชาวบ้านได้เป็นอย่างดี และชาวบ้านในเขตตำบลพระเสาร์ได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล จัดกิจกรรมปลูกป่าเพื่อทดแทนป่าที่ตาย เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและช่วยกันดูแลผืนป่าแห่งนี้ เป็นอย่างดี ทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก็ได้สนับสนุนงบประมาณในการดูแล บำรุงรักษาทุกปี ตลอดจนการประสานงานฝ่ายปกครองตำบลพระเสาร์ทุกหมู่บ้านและส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การสนับสนุน ดูแลรักษาป่า ทั้งระดับอำเภอ จังหวัด และระดับกรม ตามลำดับ 


ฐานข้อมูลการส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว
ตำบลพระเสาร์    อำเภอมหาชนะชัย   จังหวัดยโสธร

 

ลำดับที่ สถานที่ท่องเที่ยว ช่วงระยะเวลาดำเนินกิจกรรม ชื่อโครงการ หมายเหตุ
1 พระธาตุบุญตาบ้านพระเสาร์ เมษายน โครงการนมัสการพระธาตุบุญตา  
2 ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าบ้านปลาปึ่ง มีนาคม - เมษายน  โครงการจัดโต๊ะจีนลิง

 


ชื่อไฟล์ :

 องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้ยกฐานะมาจากสภาตำบลพระเสาร์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52 ง หน้า 207 ลำดับที่ 2058 ลงวันที่ 25 ธันวาคม  2539 โดยมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มีผลในวันที่ 23 กุมภาพันธ์  2540) เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็กและได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2551

 
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
1.  สภาพทั่วไป  และข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
   1.1  ที่ตั้ง  ตำบลพระเสาร์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอมหาชนะชัย  ซึ่งอยู่ห่างจากอำเภอมหาชนะชัย    
           13  กิโลเมตร  และห่างจากจังหวัดยโสธร  57  กิโลเมตร  โดยมีขอบเขตติดพื้นที่ใกล้เคียง  ดังนี้
              1.1.1  ทิศเหนือ  ติดต่อเขตตำบลค้อใหญ่  อำเภอพนมไพร  จังหวัดร้อยเอ็ด      
              1.1.2  ทิศใต้  ติดต่อเขตตำบลหัวเมืองและตำบลคูเมือง  อำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร
              1.1.3   ทิศตะวันออก  ติดต่อตำบลคำไฮ  อำเภอพนมไพร  จังหวัดร้อยเอ็ด       
              1.1.4   ทิศตะวันตก  ติดต่อตำบลคลีกลิ้ง  กิ่งอำเภอศิลาลาด  จังหวัดศรีสะเกษ
 
      1.2  เนื้อที่ เนื้อที่ทั้งหมดประมาณ  35  ตารางกิโลเมตร  หรือประมาณ   21,875  ไร่  ซึ่งมีความหนาแน่นของประชากร
ชาย - หญิง  123  คน / ตารางกิโลเมตร
      1.3  ภูมิประเทศ  มีพื้นที่ประมาณร้อยละ  70  ของพื้นที่ตำบลเป็นที่ราบสลับที่ดอน  มีที่ราบลุ่มร่องน้ำเซาะ  เหมาะแก่การทำการเกษตร  ตำบลพระเสาร์มีพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ  1  แห่ง  มีเนื้อที่ประมาณ  2,000  ไร่  ส่วนมากเป็นป่าไม้ยางนา  และไม้อื่น ๆ  
      1.4  ประชากร ปี 2557 ประชากรทั้งสิ้น  4,300  คน  แยกเป็น  ชาย  2,168  คน  หญิง  2,132  คน  มีความ 
        หนาแน่น  123  คน / ตารางกิโลเมตร  จำนวนครัวเรือน 1,030  ครัวเรือน ( ดังตารางต่อไปนี้)
 

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนครัวเรือน

ประชากร

หมายเหตุ

ชาย

หญิง

รวม

1

บ้านพระเสาร์

155

323

299

622

 

2

บ้านปลาปึ่ง

48

100

116

216

 

3

บ้านโนนยาง

121

241

240

481

 

4

บ้านขาทราย

52

112

129

241

 

5

บ้านโนนงิ้ว

71

146

132

278

 

6

บ้านหัวดง

140

278

262

540

 

7

บ้านแดง

96

225

244

469

 

8

บ้านพระเสาร์

161

333

317

650

 

9

บ้านหัวดง

116

236

226

462

 

10

บ้านโนนยาง

77

174

167

341

 

รวม

1,037

2,168

2,132

4,300

 
หมายเหตุ  ข้อมูล  ณ  วันที่  29  พฤษภาคม  2557  จากสำนักทะเบียนอำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร
1.5  ท้องถิ่นอื่นในตำบล   -  จำนวนเทศบาล      -      แห่ง         -  จำนวนสุขาภิบาล     -    แห่ง
1.6  เขตการปกครอง  ในเขต  อบต.  ทั้งหมด  10  หมู่ ดังนี้

ลำดับ
ที่

ชื่อ - สกุล

ตำแหน่ง

เบอร์โทรศัพท์

หมายเหตุ

1

นายชัยวัฒน์

ตะเคียน

กำนันตำบลพระเสาร์

08 7053 2870

 

2

นายสมัย

พาพันธ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1

08 7048 1896

 

3

นายประดิษฐ์

วงษ์กันยา

ผู้ใหญ่บ้านบ้านปลาปึ่ง หมู่ที่ 2

08 7255 9259

 

4

นายอาทิตย์

ประสานทอง

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 3

09 0360 7793

 

5

นายเปลี่ยน

สุวรรณวงศ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านขาทราย หมู่ที่ 4

08 6071 1142

 

6

นายวาส

บุญศรี

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 5

08 6260 5420

 

7

นายสมหมาย

ไชยชาญ

ผู้ใหญ่บ้านบ้านแดง หมู่ที่ 7

08 8366 9212

 

8

นายประดิษฐ์

โสสะ

ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8

08 3376 8479

 

9

นายวิทย์

วงษ์คำชัย

ผู้ใหญ่บ้านบ้านหัวดง หมู่ที่ 9

08 4823 6063

 

10

นายไชยา

สุราโพธิ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 10 

09 5184 2959  

 

 

 องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้ยกฐานะมาจากสภาตำบลพระเสาร์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52 ง หน้า 207 ลำดับที่ 2058 ลงวันที่ 25 ธันวาคม  2539 โดยมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มีผลในวันที่ 23 กุมภาพันธ์  2540) เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็กและได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2551

 
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
1.  สภาพทั่วไป  และข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
   1.1  ที่ตั้ง  ตำบลพระเสาร์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอมหาชนะชัย  ซึ่งอยู่ห่างจากอำเภอมหาชนะชัย    
           13  กิโลเมตร  และห่างจากจังหวัดยโสธร  57  กิโลเมตร  โดยมีขอบเขตติดพื้นที่ใกล้เคียง  ดังนี้
              1.1.1  ทิศเหนือ  ติดต่อเขตตำบลค้อใหญ่  อำเภอพนมไพร  จังหวัดร้อยเอ็ด      
              1.1.2  ทิศใต้  ติดต่อเขตตำบลหัวเมืองและตำบลคูเมือง  อำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร
              1.1.3   ทิศตะวันออก  ติดต่อตำบลคำไฮ  อำเภอพนมไพร  จังหวัดร้อยเอ็ด       
              1.1.4   ทิศตะวันตก  ติดต่อตำบลคลีกลิ้ง  กิ่งอำเภอศิลาลาด  จังหวัดศรีสะเกษ
 
      1.2  เนื้อที่ เนื้อที่ทั้งหมดประมาณ  35  ตารางกิโลเมตร  หรือประมาณ   21,875  ไร่  ซึ่งมีความหนาแน่นของประชากร
ชาย - หญิง  123  คน / ตารางกิโลเมตร
      1.3  ภูมิประเทศ  มีพื้นที่ประมาณร้อยละ  70  ของพื้นที่ตำบลเป็นที่ราบสลับที่ดอน  มีที่ราบลุ่มร่องน้ำเซาะ  เหมาะแก่การทำการเกษตร  ตำบลพระเสาร์มีพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ  1  แห่ง  มีเนื้อที่ประมาณ  2,000  ไร่  ส่วนมากเป็นป่าไม้ยางนา  และไม้อื่น ๆ  
      1.4  ประชากร ปี 2557 ประชากรทั้งสิ้น  4,300  คน  แยกเป็น  ชาย  2,168  คน  หญิง  2,132  คน  มีความ 
        หนาแน่น  123  คน / ตารางกิโลเมตร  จำนวนครัวเรือน 1,030  ครัวเรือน ( ดังตารางต่อไปนี้)
 

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนครัวเรือน

ประชากร

หมายเหตุ

ชาย

หญิง

รวม

1

บ้านพระเสาร์

155

323

299

622

 

2

บ้านปลาปึ่ง

48

100

116

216

 

3

บ้านโนนยาง

121

241

240

481

 

4

บ้านขาทราย

52

112

129

241

 

5

บ้านโนนงิ้ว

71

146

132

278

 

6

บ้านหัวดง

140

278

262

540

 

7

บ้านแดง

96

225

244

469

 

8

บ้านพระเสาร์

161

333

317

650

 

9

บ้านหัวดง

116

236

226

462

 

10

บ้านโนนยาง

77

174

167

341

 

รวม

1,037

2,168

2,132

4,300

 
หมายเหตุ  ข้อมูล  ณ  วันที่  29  พฤษภาคม  2557  จากสำนักทะเบียนอำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร
1.5  ท้องถิ่นอื่นในตำบล   -  จำนวนเทศบาล      -      แห่ง         -  จำนวนสุขาภิบาล     -    แห่ง
1.6  เขตการปกครอง  ในเขต  อบต.  ทั้งหมด  10  หมู่ ดังนี้

ลำดับ
ที่

ชื่อ - สกุล

ตำแหน่ง

เบอร์โทรศัพท์

หมายเหตุ

1

นายชัยวัฒน์

ตะเคียน

กำนันตำบลพระเสาร์

08 7053 2870

 

2

นายสมัย

พาพันธ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1

08 7048 1896

 

3

นายประดิษฐ์

วงษ์กันยา

ผู้ใหญ่บ้านบ้านปลาปึ่ง หมู่ที่ 2

08 7255 9259

 

4

นายอาทิตย์

ประสานทอง

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 3

09 0360 7793

 

5

นายเปลี่ยน

สุวรรณวงศ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านขาทราย หมู่ที่ 4

08 6071 1142

 

6

นายวาส

บุญศรี

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 5

08 6260 5420

 

7

นายสมหมาย

ไชยชาญ

ผู้ใหญ่บ้านบ้านแดง หมู่ที่ 7

08 8366 9212

 

8

นายประดิษฐ์

โสสะ

ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8

08 3376 8479

 

9

นายวิทย์

วงษ์คำชัย

ผู้ใหญ่บ้านบ้านหัวดง หมู่ที่ 9

08 4823 6063

 

10

นายไชยา

สุราโพธิ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 10 

09 5184 2959  

 

 

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:

 องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้ยกฐานะมาจากสภาตำบลพระเสาร์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52 ง หน้า 207 ลำดับที่ 2058 ลงวันที่ 25 ธันวาคม  2539 โดยมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มีผลในวันที่ 23 กุมภาพันธ์  2540) เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็กและได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2551

 
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
1.  สภาพทั่วไป  และข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
   1.1  ที่ตั้ง  ตำบลพระเสาร์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอมหาชนะชัย  ซึ่งอยู่ห่างจากอำเภอมหาชนะชัย    
           13  กิโลเมตร  และห่างจากจังหวัดยโสธร  57  กิโลเมตร  โดยมีขอบเขตติดพื้นที่ใกล้เคียง  ดังนี้
              1.1.1  ทิศเหนือ  ติดต่อเขตตำบลค้อใหญ่  อำเภอพนมไพร  จังหวัดร้อยเอ็ด      
              1.1.2  ทิศใต้  ติดต่อเขตตำบลหัวเมืองและตำบลคูเมือง  อำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร
              1.1.3   ทิศตะวันออก  ติดต่อตำบลคำไฮ  อำเภอพนมไพร  จังหวัดร้อยเอ็ด       
              1.1.4   ทิศตะวันตก  ติดต่อตำบลคลีกลิ้ง  กิ่งอำเภอศิลาลาด  จังหวัดศรีสะเกษ
 
      1.2  เนื้อที่ เนื้อที่ทั้งหมดประมาณ  35  ตารางกิโลเมตร  หรือประมาณ   21,875  ไร่  ซึ่งมีความหนาแน่นของประชากร
ชาย - หญิง  123  คน / ตารางกิโลเมตร
      1.3  ภูมิประเทศ  มีพื้นที่ประมาณร้อยละ  70  ของพื้นที่ตำบลเป็นที่ราบสลับที่ดอน  มีที่ราบลุ่มร่องน้ำเซาะ  เหมาะแก่การทำการเกษตร  ตำบลพระเสาร์มีพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ  1  แห่ง  มีเนื้อที่ประมาณ  2,000  ไร่  ส่วนมากเป็นป่าไม้ยางนา  และไม้อื่น ๆ  
      1.4  ประชากร ปี 2557 ประชากรทั้งสิ้น  4,300  คน  แยกเป็น  ชาย  2,168  คน  หญิง  2,132  คน  มีความ 
        หนาแน่น  123  คน / ตารางกิโลเมตร  จำนวนครัวเรือน 1,030  ครัวเรือน ( ดังตารางต่อไปนี้)
 

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนครัวเรือน

ประชากร

หมายเหตุ

ชาย

หญิง

รวม

1

บ้านพระเสาร์

155

323

299

622

 

2

บ้านปลาปึ่ง

48

100

116

216

 

3

บ้านโนนยาง

121

241

240

481

 

4

บ้านขาทราย

52

112

129

241

 

5

บ้านโนนงิ้ว

71

146

132

278

 

6

บ้านหัวดง

140

278

262

540

 

7

บ้านแดง

96

225

244

469

 

8

บ้านพระเสาร์

161

333

317

650

 

9

บ้านหัวดง

116

236

226

462

 

10

บ้านโนนยาง

77

174

167

341

 

รวม

1,037

2,168

2,132

4,300

 
หมายเหตุ  ข้อมูล  ณ  วันที่  29  พฤษภาคม  2557  จากสำนักทะเบียนอำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร
1.5  ท้องถิ่นอื่นในตำบล   -  จำนวนเทศบาล      -      แห่ง         -  จำนวนสุขาภิบาล     -    แห่ง
1.6  เขตการปกครอง  ในเขต  อบต.  ทั้งหมด  10  หมู่ ดังนี้

ลำดับ
ที่

ชื่อ - สกุล

ตำแหน่ง

เบอร์โทรศัพท์

หมายเหตุ

1

นายชัยวัฒน์

ตะเคียน

กำนันตำบลพระเสาร์

08 7053 2870

 

2

นายสมัย

พาพันธ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1

08 7048 1896

 

3

นายประดิษฐ์

วงษ์กันยา

ผู้ใหญ่บ้านบ้านปลาปึ่ง หมู่ที่ 2

08 7255 9259

 

4

นายอาทิตย์

ประสานทอง

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 3

09 0360 7793

 

5

นายเปลี่ยน

สุวรรณวงศ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านขาทราย หมู่ที่ 4

08 6071 1142

 

6

นายวาส

บุญศรี

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 5

08 6260 5420

 

7

นายสมหมาย

ไชยชาญ

ผู้ใหญ่บ้านบ้านแดง หมู่ที่ 7

08 8366 9212

 

8

นายประดิษฐ์

โสสะ

ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8

08 3376 8479

 

9

นายวิทย์

วงษ์คำชัย

ผู้ใหญ่บ้านบ้านหัวดง หมู่ที่ 9

08 4823 6063

 

10

นายไชยา

สุราโพธิ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 10 

09 5184 2959  

 

 

../add_file/

 องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้ยกฐานะมาจากสภาตำบลพระเสาร์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52 ง หน้า 207 ลำดับที่ 2058 ลงวันที่ 25 ธันวาคม  2539 โดยมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มีผลในวันที่ 23 กุมภาพันธ์  2540) เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็กและได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2551

 
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
1.  สภาพทั่วไป  และข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
   1.1  ที่ตั้ง  ตำบลพระเสาร์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอมหาชนะชัย  ซึ่งอยู่ห่างจากอำเภอมหาชนะชัย    
           13  กิโลเมตร  และห่างจากจังหวัดยโสธร  57  กิโลเมตร  โดยมีขอบเขตติดพื้นที่ใกล้เคียง  ดังนี้
              1.1.1  ทิศเหนือ  ติดต่อเขตตำบลค้อใหญ่  อำเภอพนมไพร  จังหวัดร้อยเอ็ด      
              1.1.2  ทิศใต้  ติดต่อเขตตำบลหัวเมืองและตำบลคูเมือง  อำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร
              1.1.3   ทิศตะวันออก  ติดต่อตำบลคำไฮ  อำเภอพนมไพร  จังหวัดร้อยเอ็ด       
              1.1.4   ทิศตะวันตก  ติดต่อตำบลคลีกลิ้ง  กิ่งอำเภอศิลาลาด  จังหวัดศรีสะเกษ
 
      1.2  เนื้อที่ เนื้อที่ทั้งหมดประมาณ  35  ตารางกิโลเมตร  หรือประมาณ   21,875  ไร่  ซึ่งมีความหนาแน่นของประชากร
ชาย - หญิง  123  คน / ตารางกิโลเมตร
      1.3  ภูมิประเทศ  มีพื้นที่ประมาณร้อยละ  70  ของพื้นที่ตำบลเป็นที่ราบสลับที่ดอน  มีที่ราบลุ่มร่องน้ำเซาะ  เหมาะแก่การทำการเกษตร  ตำบลพระเสาร์มีพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ  1  แห่ง  มีเนื้อที่ประมาณ  2,000  ไร่  ส่วนมากเป็นป่าไม้ยางนา  และไม้อื่น ๆ  
      1.4  ประชากร ปี 2557 ประชากรทั้งสิ้น  4,300  คน  แยกเป็น  ชาย  2,168  คน  หญิง  2,132  คน  มีความ 
        หนาแน่น  123  คน / ตารางกิโลเมตร  จำนวนครัวเรือน 1,030  ครัวเรือน ( ดังตารางต่อไปนี้)
 

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนครัวเรือน

ประชากร

หมายเหตุ

ชาย

หญิง

รวม

1

บ้านพระเสาร์

155

323

299

622

 

2

บ้านปลาปึ่ง

48

100

116

216

 

3

บ้านโนนยาง

121

241

240

481

 

4

บ้านขาทราย

52

112

129

241

 

5

บ้านโนนงิ้ว

71

146

132

278

 

6

บ้านหัวดง

140

278

262

540

 

7

บ้านแดง

96

225

244

469

 

8

บ้านพระเสาร์

161

333

317

650

 

9

บ้านหัวดง

116

236

226

462

 

10

บ้านโนนยาง

77

174

167

341

 

รวม

1,037

2,168

2,132

4,300

 
หมายเหตุ  ข้อมูล  ณ  วันที่  29  พฤษภาคม  2557  จากสำนักทะเบียนอำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร
1.5  ท้องถิ่นอื่นในตำบล   -  จำนวนเทศบาล      -      แห่ง         -  จำนวนสุขาภิบาล     -    แห่ง
1.6  เขตการปกครอง  ในเขต  อบต.  ทั้งหมด  10  หมู่ ดังนี้

ลำดับ
ที่

ชื่อ - สกุล

ตำแหน่ง

เบอร์โทรศัพท์

หมายเหตุ

1

นายชัยวัฒน์

ตะเคียน

กำนันตำบลพระเสาร์

08 7053 2870

 

2

นายสมัย

พาพันธ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1

08 7048 1896

 

3

นายประดิษฐ์

วงษ์กันยา

ผู้ใหญ่บ้านบ้านปลาปึ่ง หมู่ที่ 2

08 7255 9259

 

4

นายอาทิตย์

ประสานทอง

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 3

09 0360 7793

 

5

นายเปลี่ยน

สุวรรณวงศ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านขาทราย หมู่ที่ 4

08 6071 1142

 

6

นายวาส

บุญศรี

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 5

08 6260 5420

 

7

นายสมหมาย

ไชยชาญ

ผู้ใหญ่บ้านบ้านแดง หมู่ที่ 7

08 8366 9212

 

8

นายประดิษฐ์

โสสะ

ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8

08 3376 8479

 

9

นายวิทย์

วงษ์คำชัย

ผู้ใหญ่บ้านบ้านหัวดง หมู่ที่ 9

08 4823 6063

 

10

นายไชยา

สุราโพธิ์

ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 10 

09 5184 2959  

 

 


ชื่อไฟล์ :

วิสัยทัศน์  (Vision)
      “สาธารณูปโภคก้าวไกล  ใส่ใจการคมนาคม  อุดมด้วยแหล่งน้ำ  งามล้ำประเพณี  สู่วิถีความพอเพียง”
 
พันธกิจ  (Mission)
ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.  2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา  67,68  และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542ดังต่อไปนี้
1.ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้อุปโภค – บริโภค และทางการเกษตร
2.ให้การพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน  เช่น  ถนน  ไฟฟ้า  ประปา
3.สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์  และจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น
4.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ  ในพื้นที่
5.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ  ให้การอบรมอาชีพกลุ่มอาชีพอิสระต่างๆ  ในชุมชน
6.ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้  ความเข้าใจ  และนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ดำเนินชีวิต
7.ส่งเสริมและสนับสนุนด้านสาธารณสุข  เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ
8.ส่งเสริมการอนุรักษ์ศาสนา  วัฒนธรรม  ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่างๆ
9.สนับสนุนส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด

นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ผู้บริหารส่วนตำบลมีนโยบายให้ประชาชนได้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้เพียงพอมีความสงบสุข   
มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม  ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน  โดยมี แนวทางการดำเนินการ ดังนี้
1.ยึดประโยชน์สุขของประชาชน เป็นผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้น จากการบริหารงานที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ถึง แก้ไข ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 และ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2542
2.ยึดนโยบายของรัฐบาลเพื่อนำนโยบายสำคัญไปสู่การปฏิบัติให้เกิดบังเกิดผลสำเร็จได้แก่การแก้ไขปัญหาความยากจนปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบปัญหายาเสพติด รวมตลอดถึงแก้ไขปัญหา    ความเดือดร้อนและตอบสนองความต้องการของประชาชน
3.ยึดนโยบายของจังหวัดแบบบูรณาการมาปรับใช้เป็นแนวปฏิบัติในพื้นที่ของอบต.พระเสาร์เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อประชาชนรวมกันในการสร้างความผาสุกแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้
4.ยึดหลักกฎหมาย ระเบียบ ข้อบัญญัติขององค์กร นโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี และมติของสภา อบต. และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
จากกรอบความคิด นโยบาย  วิสัยทัศน์  และพันธกิจ ต่างๆ  ที่กฎหมายกำหนด มีแนวคิดร่วมของประชาคมตำบลผสมผสานกับแนวนโยบายขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่กำหนดไว้ ได้นำมาสู่จุดมุ่งหมายการพัฒนา (goals)  ขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ดังนี้

1.เพื่อพัฒนาการคมนาคม การสาธารณูปโภค ไฟฟ้าสาธารณะ และคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร
2.เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ให้ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ และมีศักยภาพโอกาสทางเศรษฐกิจ ตามวิถีความพอเพียง
3.เพื่อพัฒนาและรักษาฟื้นฟูซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4.เพื่อพัฒนาการศึกษาให้แก่เด็ก เยาวชน ประชาชนให้ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ
5.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการเมืองการบริหารในระบอบประชาธิปไตย
6.เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ ที่รวดเร็ว  มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง
7.เพื่อให้ชุมชนมีการรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
8.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย  รู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเข้าสู่สังคมอาเซียน(Asian Social) ต่อไป
9.เพื่อพัฒนาการกีฬาและนันทนาการให้มีมาตรฐานในระดับสากล
10.เพื่อการป้องกันและระงับโรคติดต่อทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ  ครอบคลุมพื้นที่ในเขตตำบล
11.เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และผู้ด้อยโอกาสในสังคมชุมชน
12.เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ประชาชน และห่างไกลจากยาเสพติด
13.เพื่อให้ประชาชนมีน้ำอุปโภคอย่างเพียงพอ และมีมาตรฐาน
14.เพื่อให้มีการบรรเทาสาธารณภัยอย่างครบครัน
15.เพื่อให้ประชาชน หน่วยงานต่างๆ กลุ่มองค์กร ในเขตพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบลให้มีความ เข้มแข็งและเจริญก้าวหน้าต่อไป

วิสัยทัศน์  (Vision)
      “สาธารณูปโภคก้าวไกล  ใส่ใจการคมนาคม  อุดมด้วยแหล่งน้ำ  งามล้ำประเพณี  สู่วิถีความพอเพียง”
 
พันธกิจ  (Mission)
ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.  2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา  67,68  และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542ดังต่อไปนี้
1.ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้อุปโภค – บริโภค และทางการเกษตร
2.ให้การพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน  เช่น  ถนน  ไฟฟ้า  ประปา
3.สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์  และจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น
4.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ  ในพื้นที่
5.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ  ให้การอบรมอาชีพกลุ่มอาชีพอิสระต่างๆ  ในชุมชน
6.ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้  ความเข้าใจ  และนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ดำเนินชีวิต
7.ส่งเสริมและสนับสนุนด้านสาธารณสุข  เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ
8.ส่งเสริมการอนุรักษ์ศาสนา  วัฒนธรรม  ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่างๆ
9.สนับสนุนส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด

นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ผู้บริหารส่วนตำบลมีนโยบายให้ประชาชนได้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้เพียงพอมีความสงบสุข   
มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม  ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน  โดยมี แนวทางการดำเนินการ ดังนี้
1.ยึดประโยชน์สุขของประชาชน เป็นผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้น จากการบริหารงานที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ถึง แก้ไข ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 และ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2542
2.ยึดนโยบายของรัฐบาลเพื่อนำนโยบายสำคัญไปสู่การปฏิบัติให้เกิดบังเกิดผลสำเร็จได้แก่การแก้ไขปัญหาความยากจนปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบปัญหายาเสพติด รวมตลอดถึงแก้ไขปัญหา    ความเดือดร้อนและตอบสนองความต้องการของประชาชน
3.ยึดนโยบายของจังหวัดแบบบูรณาการมาปรับใช้เป็นแนวปฏิบัติในพื้นที่ของอบต.พระเสาร์เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อประชาชนรวมกันในการสร้างความผาสุกแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้
4.ยึดหลักกฎหมาย ระเบียบ ข้อบัญญัติขององค์กร นโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี และมติของสภา อบต. และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
จากกรอบความคิด นโยบาย  วิสัยทัศน์  และพันธกิจ ต่างๆ  ที่กฎหมายกำหนด มีแนวคิดร่วมของประชาคมตำบลผสมผสานกับแนวนโยบายขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่กำหนดไว้ ได้นำมาสู่จุดมุ่งหมายการพัฒนา (goals)  ขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ดังนี้

1.เพื่อพัฒนาการคมนาคม การสาธารณูปโภค ไฟฟ้าสาธารณะ และคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร
2.เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ให้ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ และมีศักยภาพโอกาสทางเศรษฐกิจ ตามวิถีความพอเพียง
3.เพื่อพัฒนาและรักษาฟื้นฟูซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4.เพื่อพัฒนาการศึกษาให้แก่เด็ก เยาวชน ประชาชนให้ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ
5.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการเมืองการบริหารในระบอบประชาธิปไตย
6.เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ ที่รวดเร็ว  มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง
7.เพื่อให้ชุมชนมีการรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
8.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย  รู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเข้าสู่สังคมอาเซียน(Asian Social) ต่อไป
9.เพื่อพัฒนาการกีฬาและนันทนาการให้มีมาตรฐานในระดับสากล
10.เพื่อการป้องกันและระงับโรคติดต่อทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ  ครอบคลุมพื้นที่ในเขตตำบล
11.เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และผู้ด้อยโอกาสในสังคมชุมชน
12.เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ประชาชน และห่างไกลจากยาเสพติด
13.เพื่อให้ประชาชนมีน้ำอุปโภคอย่างเพียงพอ และมีมาตรฐาน
14.เพื่อให้มีการบรรเทาสาธารณภัยอย่างครบครัน
15.เพื่อให้ประชาชน หน่วยงานต่างๆ กลุ่มองค์กร ในเขตพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบลให้มีความ เข้มแข็งและเจริญก้าวหน้าต่อไป

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:

วิสัยทัศน์  (Vision)
      “สาธารณูปโภคก้าวไกล  ใส่ใจการคมนาคม  อุดมด้วยแหล่งน้ำ  งามล้ำประเพณี  สู่วิถีความพอเพียง”
 
พันธกิจ  (Mission)
ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.  2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา  67,68  และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542ดังต่อไปนี้
1.ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้อุปโภค – บริโภค และทางการเกษตร
2.ให้การพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน  เช่น  ถนน  ไฟฟ้า  ประปา
3.สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์  และจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น
4.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ  ในพื้นที่
5.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ  ให้การอบรมอาชีพกลุ่มอาชีพอิสระต่างๆ  ในชุมชน
6.ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้  ความเข้าใจ  และนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ดำเนินชีวิต
7.ส่งเสริมและสนับสนุนด้านสาธารณสุข  เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ
8.ส่งเสริมการอนุรักษ์ศาสนา  วัฒนธรรม  ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่างๆ
9.สนับสนุนส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด

นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ผู้บริหารส่วนตำบลมีนโยบายให้ประชาชนได้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้เพียงพอมีความสงบสุข   
มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม  ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน  โดยมี แนวทางการดำเนินการ ดังนี้
1.ยึดประโยชน์สุขของประชาชน เป็นผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้น จากการบริหารงานที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ถึง แก้ไข ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 และ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2542
2.ยึดนโยบายของรัฐบาลเพื่อนำนโยบายสำคัญไปสู่การปฏิบัติให้เกิดบังเกิดผลสำเร็จได้แก่การแก้ไขปัญหาความยากจนปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบปัญหายาเสพติด รวมตลอดถึงแก้ไขปัญหา    ความเดือดร้อนและตอบสนองความต้องการของประชาชน
3.ยึดนโยบายของจังหวัดแบบบูรณาการมาปรับใช้เป็นแนวปฏิบัติในพื้นที่ของอบต.พระเสาร์เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อประชาชนรวมกันในการสร้างความผาสุกแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้
4.ยึดหลักกฎหมาย ระเบียบ ข้อบัญญัติขององค์กร นโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี และมติของสภา อบต. และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
จากกรอบความคิด นโยบาย  วิสัยทัศน์  และพันธกิจ ต่างๆ  ที่กฎหมายกำหนด มีแนวคิดร่วมของประชาคมตำบลผสมผสานกับแนวนโยบายขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่กำหนดไว้ ได้นำมาสู่จุดมุ่งหมายการพัฒนา (goals)  ขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ดังนี้

1.เพื่อพัฒนาการคมนาคม การสาธารณูปโภค ไฟฟ้าสาธารณะ และคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร
2.เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ให้ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ และมีศักยภาพโอกาสทางเศรษฐกิจ ตามวิถีความพอเพียง
3.เพื่อพัฒนาและรักษาฟื้นฟูซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4.เพื่อพัฒนาการศึกษาให้แก่เด็ก เยาวชน ประชาชนให้ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ
5.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการเมืองการบริหารในระบอบประชาธิปไตย
6.เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ ที่รวดเร็ว  มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง
7.เพื่อให้ชุมชนมีการรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
8.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย  รู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเข้าสู่สังคมอาเซียน(Asian Social) ต่อไป
9.เพื่อพัฒนาการกีฬาและนันทนาการให้มีมาตรฐานในระดับสากล
10.เพื่อการป้องกันและระงับโรคติดต่อทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ  ครอบคลุมพื้นที่ในเขตตำบล
11.เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และผู้ด้อยโอกาสในสังคมชุมชน
12.เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ประชาชน และห่างไกลจากยาเสพติด
13.เพื่อให้ประชาชนมีน้ำอุปโภคอย่างเพียงพอ และมีมาตรฐาน
14.เพื่อให้มีการบรรเทาสาธารณภัยอย่างครบครัน
15.เพื่อให้ประชาชน หน่วยงานต่างๆ กลุ่มองค์กร ในเขตพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบลให้มีความ เข้มแข็งและเจริญก้าวหน้าต่อไป

../add_file/

วิสัยทัศน์  (Vision)
      “สาธารณูปโภคก้าวไกล  ใส่ใจการคมนาคม  อุดมด้วยแหล่งน้ำ  งามล้ำประเพณี  สู่วิถีความพอเพียง”
 
พันธกิจ  (Mission)
ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.  2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา  67,68  และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542ดังต่อไปนี้
1.ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้อุปโภค – บริโภค และทางการเกษตร
2.ให้การพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน  เช่น  ถนน  ไฟฟ้า  ประปา
3.สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์  และจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น
4.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ  ในพื้นที่
5.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ  ให้การอบรมอาชีพกลุ่มอาชีพอิสระต่างๆ  ในชุมชน
6.ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้  ความเข้าใจ  และนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ดำเนินชีวิต
7.ส่งเสริมและสนับสนุนด้านสาธารณสุข  เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ
8.ส่งเสริมการอนุรักษ์ศาสนา  วัฒนธรรม  ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่างๆ
9.สนับสนุนส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด

นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ผู้บริหารส่วนตำบลมีนโยบายให้ประชาชนได้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้เพียงพอมีความสงบสุข   
มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม  ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน  โดยมี แนวทางการดำเนินการ ดังนี้
1.ยึดประโยชน์สุขของประชาชน เป็นผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้น จากการบริหารงานที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ถึง แก้ไข ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 และ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  พ.ศ. 2542
2.ยึดนโยบายของรัฐบาลเพื่อนำนโยบายสำคัญไปสู่การปฏิบัติให้เกิดบังเกิดผลสำเร็จได้แก่การแก้ไขปัญหาความยากจนปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบปัญหายาเสพติด รวมตลอดถึงแก้ไขปัญหา    ความเดือดร้อนและตอบสนองความต้องการของประชาชน
3.ยึดนโยบายของจังหวัดแบบบูรณาการมาปรับใช้เป็นแนวปฏิบัติในพื้นที่ของอบต.พระเสาร์เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อประชาชนรวมกันในการสร้างความผาสุกแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้
4.ยึดหลักกฎหมาย ระเบียบ ข้อบัญญัติขององค์กร นโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี และมติของสภา อบต. และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
จากกรอบความคิด นโยบาย  วิสัยทัศน์  และพันธกิจ ต่างๆ  ที่กฎหมายกำหนด มีแนวคิดร่วมของประชาคมตำบลผสมผสานกับแนวนโยบายขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่กำหนดไว้ ได้นำมาสู่จุดมุ่งหมายการพัฒนา (goals)  ขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ดังนี้

1.เพื่อพัฒนาการคมนาคม การสาธารณูปโภค ไฟฟ้าสาธารณะ และคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร
2.เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ให้ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ และมีศักยภาพโอกาสทางเศรษฐกิจ ตามวิถีความพอเพียง
3.เพื่อพัฒนาและรักษาฟื้นฟูซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4.เพื่อพัฒนาการศึกษาให้แก่เด็ก เยาวชน ประชาชนให้ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ
5.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการเมืองการบริหารในระบอบประชาธิปไตย
6.เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ ที่รวดเร็ว  มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง
7.เพื่อให้ชุมชนมีการรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
8.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย  รู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเข้าสู่สังคมอาเซียน(Asian Social) ต่อไป
9.เพื่อพัฒนาการกีฬาและนันทนาการให้มีมาตรฐานในระดับสากล
10.เพื่อการป้องกันและระงับโรคติดต่อทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ  ครอบคลุมพื้นที่ในเขตตำบล
11.เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และผู้ด้อยโอกาสในสังคมชุมชน
12.เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ประชาชน และห่างไกลจากยาเสพติด
13.เพื่อให้ประชาชนมีน้ำอุปโภคอย่างเพียงพอ และมีมาตรฐาน
14.เพื่อให้มีการบรรเทาสาธารณภัยอย่างครบครัน
15.เพื่อให้ประชาชน หน่วยงานต่างๆ กลุ่มองค์กร ในเขตพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบลให้มีความ เข้มแข็งและเจริญก้าวหน้าต่อไป


ชื่อไฟล์ :

อีเมลล์ : 
เบอร์โทร :

การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล

- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ อบต. การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุณมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล

- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน 

- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ 

- การจัดทำแผนกลยุทธของ อบต. และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร 

- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม

file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

อีเมลล์ : 
เบอร์โทร :

การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล

- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ อบต. การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุณมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล

- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน 

- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ 

- การจัดทำแผนกลยุทธของ อบต. และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร 

- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม

../add_file/

อีเมลล์ : 
เบอร์โทร :

การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล

- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ อบต. การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุณมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล

- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน 

- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ 

- การจัดทำแผนกลยุทธของ อบต. และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร 

- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม


ชื่อไฟล์ :

ข้อมูลการติดต่อ

สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์

ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ต.พระเสาร์ อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร รหัสไปรษณีย์ 35130
FACEBOOK องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
    https://www.facebook.com/1784040691908638/
LINE  
องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์    https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9 
เว็บไซต์    www.phrasao.go.th  
โทรศัพท์ 0-4597-0290   
E-Mail : 6350609@dla.go.th 
หรือ admin@phrasao.go.th

     

ข้อมูลการติดต่อ

สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์

ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ต.พระเสาร์ อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร รหัสไปรษณีย์ 35130
FACEBOOK องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
    
https://www.facebook.com/1784040691908638/
LINE  
องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์    https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9 
เว็บไซต์    www.phrasao.go.th  
โทรศัพท์ 0-4597-0290   
E-Mail : 6350609@dla.go.th 
หรือ admin@phrasao.go.th

     

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

ข้อมูลการติดต่อ

สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์

ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ต.พระเสาร์ อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร รหัสไปรษณีย์ 35130
FACEBOOK องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
    https://www.facebook.com/1784040691908638/
LINE  
องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์    https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9 
เว็บไซต์    www.phrasao.go.th  
โทรศัพท์ 0-4597-0290   
E-Mail : 6350609@dla.go.th 
หรือ admin@phrasao.go.th

     

../add_file/

ข้อมูลการติดต่อ

สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์

ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ต.พระเสาร์ อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร รหัสไปรษณีย์ 35130
FACEBOOK องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
    https://www.facebook.com/1784040691908638/
LINE  
องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์    https://line.me/R/ti/g/nS6n8CZej9 
เว็บไซต์    www.phrasao.go.th  
โทรศัพท์ 0-4597-0290   
E-Mail : 6350609@dla.go.th 
หรือ admin@phrasao.go.th

     


ชื่อไฟล์ : " class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ :

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:

../add_file/


ชื่อไฟล์ :
2. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
2.1 การคมนาคม มีเส้นทางหรือถนนติดต่อถึงอำเภอ  จำนวน  2  เส้นทาง  ระยะห่างจากอำเภอประมาณ  13  กิโลเมตร  ลักษณะเป็นลาดยาง  ถนนระหว่างหมู่บ้านเป็นลาดยางและลูกรัง  ส่วนถนนภายในหมู่บ้านส่วนมากเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและถนนดินผสมลูกรัง
 
2.2  การโทรคมนาคม            
-  ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขประจำตำบล  1 แห่ง            -  สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ  -   แห่ง
2.3  การไฟฟ้า                    
  -  ไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บ้านและประชากรใช้ไฟฟ้าทุกครัวเรือน
2.4  แหล่งน้ำธรรมชาติ          
-  ลำน้ำ , ลำห้วย   1    สาย               -  บึง , หนองและอื่น ๆ    13   แห่ง
2.5  แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น          
-  บ่อน้ำโยกมือ   21     แห่ง               -  สระน้ำ   7      แห่ง  
-  ประปาหมู่บ้าน           10    แห่ง
 
3.  ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.1  ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
-  มีป่าสงวนแห่งชาติ  1  แห่ง  มีเนื้อที่ประมาณ  2,000 ไร่  ส่วนมากเป็นป่าไม้ยางนาและไม้อื่น ๆ
แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ  ได้แก่ วัดพระธาตุบุญตา ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่า(ดงลิงบ้านปลาปึ่ง)  วัดป่าหนองบัวแดง
4.  ด้านเศรษฐกิจ
 4.1  อาชีพ ( แสดงอาชีพของประชากรในเขต  อบต. )
       ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลักคือการทำนา  รองลงมาคือเลี้ยงสัตว์  ปลูกพืชสวนครัว  รับจ้างทั่วไป และการทำหัตถกรรมในครัวเรือน
4.2  หน่วยธุรกิจในเขต  อบต.   
-       ธนาคาร             -      แห่ง                                  -        โรงสี     35      แห่ง
-       ปั๊มน้ำมัน            6      แห่ง ( รวมปั๊มหลอด )       -        อู่ซ่อมรถ 4        แห่ง
-       ร้านขายก๊าซหุงต้ม         5  แห่ง                         -        ร้านค้า   36      แห่ง
5. ด้านสังคม  การเมืองและการบริหาร
5.1  การศึกษา                    
-  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3 – 5 ขวบ)   3      แห่ง     -  ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด   1   แห่ง
-  โรงเรียนขยายโอกาส                   1      แห่ง     -  โรงเรียนประถมศึกษา                 4   แห่ง
   -  ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน      7      แห่ง
5.2  สถาบันและองค์กรทางศาสนา 
-  วัด        9           แห่ง                          -  สำนักสงฆ์     2   แห่ง
-  มัสยิด     -          แห่ง                          -  ศาลเจ้า        -    แห่ง
-  โบสถ์      -         แห่ง
5.3  การสาธารณสุข             
-  โรงพยาบาลของรัฐขนาด  -   เตียง                                  จำนวน            -       แห่ง
-  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบล / หมู่บ้าน           จำนวน          2        แห่ง
-  สถานพยาบาลเอกชน                                                      จำนวน            -        แห่ง
-  ร้านขายยาแผนปัจจุบัน                                                    จำนวน           1       แห่ง
-  อัตราการใช้ส้วมราดน้ำ  ร้อยละ  100
5.4  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 
-  สถานีตำรวจชุมชนประจำตำบล      1      แห่ง     -  สถานีดับเพลิง      -      แห่ง
5.5  มวลชนจัดตั้ง                
-  ลูกเสือชาวบ้าน  5  รุ่น          750      คน              -  หมู่บ้าน  อพป.  1  รุ่น   15  คน         
-  กลุ่มเกษตรกร  14  กลุ่ม        350      คน              -  กลุ่ม  อปพร.    1  กลุ่ม 52  คน
5.6  วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ    
       ประเพณีของท้องถิ่น  มีการดำเนินการทุกเดือนตามฮีตสิบสอง ครองสิบสี่
 
5.7  สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลคุณภาพชีวิตของครัวเรือน ระดับตำบล ปี  2557

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด
1.  เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม

 
14  คน

 
14  คน

 
100.00

 
คน

 
-

2.  เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

377  คน

377  คน

100.00

คน

-

3.  เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน

11  คน

11  คน

100.00

-  คน

-

4.  ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน

830  คร.

830  คร.

100.00

คร.

-

5.  คนในครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

830  คร.

830  คร.

100.00

คร.

-

6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อโรค

1,784  คร.

1,784  คร.

100.00

คร.

-

7.  คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที

2,810  คร.

2,810  คร.

100.00

คร.

-

 

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

8.  ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

9.  ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

10. ครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

11. ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

13. ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

15. ครอบครัวมีความอบอุ่น

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด         

 

 

 

 

 

16. เด็กอายุ 3-5 ปีเต็ม ได้รับการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน

73  คน

73  คน

100.00

-  คน

-

17. เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี

343  คน

343  คน

100.00

-  คน

-

18. เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า

33  คน

33  คน

100.00

-  คน

-

19. เด็กจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ

-  คน

-  คน

100.00

-  คน

-

20. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่านเขียน ภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้

1,833  คน

1,833  คน

100.00

-  คน

-

2. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
2.1 การคมนาคม มีเส้นทางหรือถนนติดต่อถึงอำเภอ  จำนวน  2  เส้นทาง  ระยะห่างจากอำเภอประมาณ  13  กิโลเมตร  ลักษณะเป็นลาดยาง  ถนนระหว่างหมู่บ้านเป็นลาดยางและลูกรัง  ส่วนถนนภายในหมู่บ้านส่วนมากเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและถนนดินผสมลูกรัง
 
2.2  การโทรคมนาคม            
-  ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขประจำตำบล  1 แห่ง            -  สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ  -   แห่ง
2.3  การไฟฟ้า                    
  -  ไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บ้านและประชากรใช้ไฟฟ้าทุกครัวเรือน
2.4  แหล่งน้ำธรรมชาติ          
-  ลำน้ำ , ลำห้วย   1    สาย               -  บึง , หนองและอื่น ๆ    13   แห่ง
2.5  แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น          
-  บ่อน้ำโยกมือ   21     แห่ง               -  สระน้ำ   7      แห่ง  
-  ประปาหมู่บ้าน           10    แห่ง
 
3.  ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.1  ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
-  มีป่าสงวนแห่งชาติ  1  แห่ง  มีเนื้อที่ประมาณ  2,000 ไร่  ส่วนมากเป็นป่าไม้ยางนาและไม้อื่น ๆ
แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ  ได้แก่ วัดพระธาตุบุญตา ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่า(ดงลิงบ้านปลาปึ่ง)  วัดป่าหนองบัวแดง
4.  ด้านเศรษฐกิจ
 4.1  อาชีพ ( แสดงอาชีพของประชากรในเขต  อบต. )
       ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลักคือการทำนา  รองลงมาคือเลี้ยงสัตว์  ปลูกพืชสวนครัว  รับจ้างทั่วไป และการทำหัตถกรรมในครัวเรือน
4.2  หน่วยธุรกิจในเขต  อบต.   
-       ธนาคาร             -      แห่ง                                  -        โรงสี     35      แห่ง
-       ปั๊มน้ำมัน            6      แห่ง ( รวมปั๊มหลอด )       -        อู่ซ่อมรถ 4        แห่ง
-       ร้านขายก๊าซหุงต้ม         5  แห่ง                         -        ร้านค้า   36      แห่ง
5. ด้านสังคม  การเมืองและการบริหาร
5.1  การศึกษา                    
-  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3 – 5 ขวบ)   3      แห่ง     -  ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด   1   แห่ง
-  โรงเรียนขยายโอกาส                   1      แห่ง     -  โรงเรียนประถมศึกษา                 4   แห่ง
   -  ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน      7      แห่ง
5.2  สถาบันและองค์กรทางศาสนา 
-  วัด        9           แห่ง                          -  สำนักสงฆ์     2   แห่ง
-  มัสยิด     -          แห่ง                          -  ศาลเจ้า        -    แห่ง
-  โบสถ์      -         แห่ง
5.3  การสาธารณสุข             
-  โรงพยาบาลของรัฐขนาด  -   เตียง                                  จำนวน            -       แห่ง
-  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบล / หมู่บ้าน           จำนวน          2        แห่ง
-  สถานพยาบาลเอกชน                                                      จำนวน            -        แห่ง
-  ร้านขายยาแผนปัจจุบัน                                                    จำนวน           1       แห่ง
-  อัตราการใช้ส้วมราดน้ำ  ร้อยละ  100
5.4  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 
-  สถานีตำรวจชุมชนประจำตำบล      1      แห่ง     -  สถานีดับเพลิง      -      แห่ง
5.5  มวลชนจัดตั้ง                
-  ลูกเสือชาวบ้าน  5  รุ่น          750      คน              -  หมู่บ้าน  อพป.  1  รุ่น   15  คน         
-  กลุ่มเกษตรกร  14  กลุ่ม        350      คน              -  กลุ่ม  อปพร.    1  กลุ่ม 52  คน
5.6  วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ    
       ประเพณีของท้องถิ่น  มีการดำเนินการทุกเดือนตามฮีตสิบสอง ครองสิบสี่
 
5.7  สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลคุณภาพชีวิตของครัวเรือน ระดับตำบล ปี  2557

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด
1.  เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม

 
14  คน

 
14  คน

 
100.00

 
คน

 
-

2.  เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

377  คน

377  คน

100.00

คน

-

3.  เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน

11  คน

11  คน

100.00

-  คน

-

4.  ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน

830  คร.

830  คร.

100.00

คร.

-

5.  คนในครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

830  คร.

830  คร.

100.00

คร.

-

6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อโรค

1,784  คร.

1,784  คร.

100.00

คร.

-

7.  คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที

2,810  คร.

2,810  คร.

100.00

คร.

-

 

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

8.  ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

9.  ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

10. ครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

11. ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

13. ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

15. ครอบครัวมีความอบอุ่น

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด         

 

 

 

 

 

16. เด็กอายุ 3-5 ปีเต็ม ได้รับการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน

73  คน

73  คน

100.00

-  คน

-

17. เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี

343  คน

343  คน

100.00

-  คน

-

18. เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า

33  คน

33  คน

100.00

-  คน

-

19. เด็กจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ

-  คน

-  คน

100.00

-  คน

-

20. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่านเขียน ภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้

1,833  คน

1,833  คน

100.00

-  คน

-

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:
2. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
2.1 การคมนาคม มีเส้นทางหรือถนนติดต่อถึงอำเภอ  จำนวน  2  เส้นทาง  ระยะห่างจากอำเภอประมาณ  13  กิโลเมตร  ลักษณะเป็นลาดยาง  ถนนระหว่างหมู่บ้านเป็นลาดยางและลูกรัง  ส่วนถนนภายในหมู่บ้านส่วนมากเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและถนนดินผสมลูกรัง
 
2.2  การโทรคมนาคม            
-  ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขประจำตำบล  1 แห่ง            -  สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ  -   แห่ง
2.3  การไฟฟ้า                    
  -  ไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บ้านและประชากรใช้ไฟฟ้าทุกครัวเรือน
2.4  แหล่งน้ำธรรมชาติ          
-  ลำน้ำ , ลำห้วย   1    สาย               -  บึง , หนองและอื่น ๆ    13   แห่ง
2.5  แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น          
-  บ่อน้ำโยกมือ   21     แห่ง               -  สระน้ำ   7      แห่ง  
-  ประปาหมู่บ้าน           10    แห่ง
 
3.  ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.1  ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
-  มีป่าสงวนแห่งชาติ  1  แห่ง  มีเนื้อที่ประมาณ  2,000 ไร่  ส่วนมากเป็นป่าไม้ยางนาและไม้อื่น ๆ
แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ  ได้แก่ วัดพระธาตุบุญตา ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่า(ดงลิงบ้านปลาปึ่ง)  วัดป่าหนองบัวแดง
4.  ด้านเศรษฐกิจ
 4.1  อาชีพ ( แสดงอาชีพของประชากรในเขต  อบต. )
       ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลักคือการทำนา  รองลงมาคือเลี้ยงสัตว์  ปลูกพืชสวนครัว  รับจ้างทั่วไป และการทำหัตถกรรมในครัวเรือน
4.2  หน่วยธุรกิจในเขต  อบต.   
-       ธนาคาร             -      แห่ง                                  -        โรงสี     35      แห่ง
-       ปั๊มน้ำมัน            6      แห่ง ( รวมปั๊มหลอด )       -        อู่ซ่อมรถ 4        แห่ง
-       ร้านขายก๊าซหุงต้ม         5  แห่ง                         -        ร้านค้า   36      แห่ง
5. ด้านสังคม  การเมืองและการบริหาร
5.1  การศึกษา                    
-  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3 – 5 ขวบ)   3      แห่ง     -  ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด   1   แห่ง
-  โรงเรียนขยายโอกาส                   1      แห่ง     -  โรงเรียนประถมศึกษา                 4   แห่ง
   -  ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน      7      แห่ง
5.2  สถาบันและองค์กรทางศาสนา 
-  วัด        9           แห่ง                          -  สำนักสงฆ์     2   แห่ง
-  มัสยิด     -          แห่ง                          -  ศาลเจ้า        -    แห่ง
-  โบสถ์      -         แห่ง
5.3  การสาธารณสุข             
-  โรงพยาบาลของรัฐขนาด  -   เตียง                                  จำนวน            -       แห่ง
-  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบล / หมู่บ้าน           จำนวน          2        แห่ง
-  สถานพยาบาลเอกชน                                                      จำนวน            -        แห่ง
-  ร้านขายยาแผนปัจจุบัน                                                    จำนวน           1       แห่ง
-  อัตราการใช้ส้วมราดน้ำ  ร้อยละ  100
5.4  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 
-  สถานีตำรวจชุมชนประจำตำบล      1      แห่ง     -  สถานีดับเพลิง      -      แห่ง
5.5  มวลชนจัดตั้ง                
-  ลูกเสือชาวบ้าน  5  รุ่น          750      คน              -  หมู่บ้าน  อพป.  1  รุ่น   15  คน         
-  กลุ่มเกษตรกร  14  กลุ่ม        350      คน              -  กลุ่ม  อปพร.    1  กลุ่ม 52  คน
5.6  วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ    
       ประเพณีของท้องถิ่น  มีการดำเนินการทุกเดือนตามฮีตสิบสอง ครองสิบสี่
 
5.7  สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลคุณภาพชีวิตของครัวเรือน ระดับตำบล ปี  2557

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด
1.  เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม

 
14  คน

 
14  คน

 
100.00

 
คน

 
-

2.  เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

377  คน

377  คน

100.00

คน

-

3.  เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน

11  คน

11  คน

100.00

-  คน

-

4.  ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน

830  คร.

830  คร.

100.00

คร.

-

5.  คนในครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

830  คร.

830  คร.

100.00

คร.

-

6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อโรค

1,784  คร.

1,784  คร.

100.00

คร.

-

7.  คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที

2,810  คร.

2,810  คร.

100.00

คร.

-

 

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

8.  ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

9.  ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

10. ครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

11. ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

13. ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

15. ครอบครัวมีความอบอุ่น

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด         

 

 

 

 

 

16. เด็กอายุ 3-5 ปีเต็ม ได้รับการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน

73  คน

73  คน

100.00

-  คน

-

17. เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี

343  คน

343  คน

100.00

-  คน

-

18. เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า

33  คน

33  คน

100.00

-  คน

-

19. เด็กจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ

-  คน

-  คน

100.00

-  คน

-

20. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่านเขียน ภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้

1,833  คน

1,833  คน

100.00

-  คน

-

../add_file/
2. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
2.1 การคมนาคม มีเส้นทางหรือถนนติดต่อถึงอำเภอ  จำนวน  2  เส้นทาง  ระยะห่างจากอำเภอประมาณ  13  กิโลเมตร  ลักษณะเป็นลาดยาง  ถนนระหว่างหมู่บ้านเป็นลาดยางและลูกรัง  ส่วนถนนภายในหมู่บ้านส่วนมากเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและถนนดินผสมลูกรัง
 
2.2  การโทรคมนาคม            
-  ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขประจำตำบล  1 แห่ง            -  สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ  -   แห่ง
2.3  การไฟฟ้า                    
  -  ไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บ้านและประชากรใช้ไฟฟ้าทุกครัวเรือน
2.4  แหล่งน้ำธรรมชาติ          
-  ลำน้ำ , ลำห้วย   1    สาย               -  บึง , หนองและอื่น ๆ    13   แห่ง
2.5  แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น          
-  บ่อน้ำโยกมือ   21     แห่ง               -  สระน้ำ   7      แห่ง  
-  ประปาหมู่บ้าน           10    แห่ง
 
3.  ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.1  ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
-  มีป่าสงวนแห่งชาติ  1  แห่ง  มีเนื้อที่ประมาณ  2,000 ไร่  ส่วนมากเป็นป่าไม้ยางนาและไม้อื่น ๆ
แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ  ได้แก่ วัดพระธาตุบุญตา ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่า(ดงลิงบ้านปลาปึ่ง)  วัดป่าหนองบัวแดง
4.  ด้านเศรษฐกิจ
 4.1  อาชีพ ( แสดงอาชีพของประชากรในเขต  อบต. )
       ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลักคือการทำนา  รองลงมาคือเลี้ยงสัตว์  ปลูกพืชสวนครัว  รับจ้างทั่วไป และการทำหัตถกรรมในครัวเรือน
4.2  หน่วยธุรกิจในเขต  อบต.   
-       ธนาคาร             -      แห่ง                                  -        โรงสี     35      แห่ง
-       ปั๊มน้ำมัน            6      แห่ง ( รวมปั๊มหลอด )       -        อู่ซ่อมรถ 4        แห่ง
-       ร้านขายก๊าซหุงต้ม         5  แห่ง                         -        ร้านค้า   36      แห่ง
5. ด้านสังคม  การเมืองและการบริหาร
5.1  การศึกษา                    
-  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3 – 5 ขวบ)   3      แห่ง     -  ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด   1   แห่ง
-  โรงเรียนขยายโอกาส                   1      แห่ง     -  โรงเรียนประถมศึกษา                 4   แห่ง
   -  ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน      7      แห่ง
5.2  สถาบันและองค์กรทางศาสนา 
-  วัด        9           แห่ง                          -  สำนักสงฆ์     2   แห่ง
-  มัสยิด     -          แห่ง                          -  ศาลเจ้า        -    แห่ง
-  โบสถ์      -         แห่ง
5.3  การสาธารณสุข             
-  โรงพยาบาลของรัฐขนาด  -   เตียง                                  จำนวน            -       แห่ง
-  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบล / หมู่บ้าน           จำนวน          2        แห่ง
-  สถานพยาบาลเอกชน                                                      จำนวน            -        แห่ง
-  ร้านขายยาแผนปัจจุบัน                                                    จำนวน           1       แห่ง
-  อัตราการใช้ส้วมราดน้ำ  ร้อยละ  100
5.4  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 
-  สถานีตำรวจชุมชนประจำตำบล      1      แห่ง     -  สถานีดับเพลิง      -      แห่ง
5.5  มวลชนจัดตั้ง                
-  ลูกเสือชาวบ้าน  5  รุ่น          750      คน              -  หมู่บ้าน  อพป.  1  รุ่น   15  คน         
-  กลุ่มเกษตรกร  14  กลุ่ม        350      คน              -  กลุ่ม  อปพร.    1  กลุ่ม 52  คน
5.6  วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ    
       ประเพณีของท้องถิ่น  มีการดำเนินการทุกเดือนตามฮีตสิบสอง ครองสิบสี่
 
5.7  สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลคุณภาพชีวิตของครัวเรือน ระดับตำบล ปี  2557

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด
1.  เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม

 
14  คน

 
14  คน

 
100.00

 
คน

 
-

2.  เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

377  คน

377  คน

100.00

คน

-

3.  เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน

11  คน

11  คน

100.00

-  คน

-

4.  ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน

830  คร.

830  คร.

100.00

คร.

-

5.  คนในครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

830  คร.

830  คร.

100.00

คร.

-

6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อโรค

1,784  คร.

1,784  คร.

100.00

คร.

-

7.  คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที

2,810  คร.

2,810  คร.

100.00

คร.

-

 

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

8.  ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

9.  ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

10. ครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

11. ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

13. ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

15. ครอบครัวมีความอบอุ่น

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด         

 

 

 

 

 

16. เด็กอายุ 3-5 ปีเต็ม ได้รับการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน

73  คน

73  คน

100.00

-  คน

-

17. เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี

343  คน

343  คน

100.00

-  คน

-

18. เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า

33  คน

33  คน

100.00

-  คน

-

19. เด็กจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ

-  คน

-  คน

100.00

-  คน

-

20. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่านเขียน ภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้

1,833  คน

1,833  คน

100.00

-  คน

-


ชื่อไฟล์ :

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทำและมีรายได้) มี 4 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

21. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม มีอาชีพและมีรายได้

1,691  คน

1,691  คน

100.00

-  คน

-

22. คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้

502  คน

502  คน

100.00

-  คน

-

23. คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี

830  คร.

827  คร.

99.63

3  คร.

0.36

24. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

 

25. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราว)

2,926  คน

2,926  คน

100.00

-  คน

-

 

26. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่

2,926  คน

2,783  คน

95.11

143  คน

4.89

 

27. คนอายุ 6 ปีขึ้น ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

2,810  คน

2,445  คน

100.00

-  คน

-

 

28. คนสูงอายุ ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ

586  คน

586  คน

100.00

-  คน

-

 

29. คนพิการได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ

74  คน

74  คน

100.00

-  คน

-

 

30. คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-


6.  การเมืองและการบริหาร
6.1  คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์

 

 

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทำและมีรายได้) มี 4 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

21. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม มีอาชีพและมีรายได้

1,691  คน

1,691  คน

100.00

-  คน

-

22. คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้

502  คน

502  คน

100.00

-  คน

-

23. คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี

830  คร.

827  คร.

99.63

3  คร.

0.36

24. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

 

25. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราว)

2,926  คน

2,926  คน

100.00

-  คน

-

 

26. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่

2,926  คน

2,783  คน

95.11

143  คน

4.89

 

27. คนอายุ 6 ปีขึ้น ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

2,810  คน

2,445  คน

100.00

-  คน

-

 

28. คนสูงอายุ ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ

586  คน

586  คน

100.00

-  คน

-

 

29. คนพิการได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ

74  คน

74  คน

100.00

-  คน

-

 

30. คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-


6.  การเมืองและการบริหาร
6.1  คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์

 

 

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์:

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทำและมีรายได้) มี 4 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

21. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม มีอาชีพและมีรายได้

1,691  คน

1,691  คน

100.00

-  คน

-

22. คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้

502  คน

502  คน

100.00

-  คน

-

23. คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี

830  คร.

827  คร.

99.63

3  คร.

0.36

24. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

 

25. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราว)

2,926  คน

2,926  คน

100.00

-  คน

-

 

26. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่

2,926  คน

2,783  คน

95.11

143  คน

4.89

 

27. คนอายุ 6 ปีขึ้น ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

2,810  คน

2,445  คน

100.00

-  คน

-

 

28. คนสูงอายุ ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ

586  คน

586  คน

100.00

-  คน

-

 

29. คนพิการได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ

74  คน

74  คน

100.00

-  คน

-

 

30. คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-


6.  การเมืองและการบริหาร
6.1  คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์

 

 

../add_file/

ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)

จำนวนที่สำรวจทั้งหมด

ผ่านเกณฑ์

ไม่ผ่านเกณฑ์

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทำและมีรายได้) มี 4 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

21. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม มีอาชีพและมีรายได้

1,691  คน

1,691  คน

100.00

-  คน

-

22. คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้

502  คน

502  คน

100.00

-  คน

-

23. คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี

830  คร.

827  คร.

99.63

3  คร.

0.36

24. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-

หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

 

25. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราว)

2,926  คน

2,926  คน

100.00

-  คน

-

 

26. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่

2,926  คน

2,783  คน

95.11

143  คน

4.89

 

27. คนอายุ 6 ปีขึ้น ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

2,810  คน

2,445  คน

100.00

-  คน

-

 

28. คนสูงอายุ ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ

586  คน

586  คน

100.00

-  คน

-

 

29. คนพิการได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ

74  คน

74  คน

100.00

-  คน

-

 

30. คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน

830  คร.

830  คร.

100.00

-  คร.

-


6.  การเมืองและการบริหาร
6.1  คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์

 

 


ชื่อไฟล์ : file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ : kBX7984Wed92329.pdf file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์ :

1101 นักบริหารงานท้องถิ่น(ต้น-สูง).pdf

1101 นักบริหารงานท้องถิ่น(ต้น-สูง).pdf

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

1101 นักบริหารงานท้องถิ่น(ต้น-สูง).pdf

../add_file/

1101 นักบริหารงานท้องถิ่น(ต้น-สูง).pdf


ชื่อไฟล์ :

2101 นักบริหารงานนทั่วไป(ต้น-สูง).pdf

2102 นักบริหารงานการคลัง(ต้น-สูง).pdf

2103 นักบริหารงานช่าง(ต้น-สูง)(1).pdf

2104 นักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม(ต้น-สูง)(1).pdf

2105 นักบริหารงานสวัสดิการสังคม(ต้น-สูง).pdf

2106 นักบริหารงานประปา(ต้น-สูง).pdf

2107 นักบริหารงานการศึกษา(ต้น-สูง).pdf

2108 นักบริหารงานช่างสุขาภิบาล(ต้น-สูง).pdf

2109 นักบริหารงานการเกษตร(ต้น-สูง).pdf

2101 นักบริหารงานนทั่วไป(ต้น-สูง).pdf

2102 นักบริหารงานการคลัง(ต้น-สูง).pdf

2103 นักบริหารงานช่าง(ต้น-สูง)(1).pdf

2104 นักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม(ต้น-สูง)(1).pdf

2105 นักบริหารงานสวัสดิการสังคม(ต้น-สูง).pdf

2106 นักบริหารงานประปา(ต้น-สูง).pdf

2107 นักบริหารงานการศึกษา(ต้น-สูง).pdf

2108 นักบริหารงานช่างสุขาภิบาล(ต้น-สูง).pdf

2109 นักบริหารงานการเกษตร(ต้น-สูง).pdf

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

2101 นักบริหารงานนทั่วไป(ต้น-สูง).pdf

2102 นักบริหารงานการคลัง(ต้น-สูง).pdf

2103 นักบริหารงานช่าง(ต้น-สูง)(1).pdf

2104 นักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม(ต้น-สูง)(1).pdf

2105 นักบริหารงานสวัสดิการสังคม(ต้น-สูง).pdf

2106 นักบริหารงานประปา(ต้น-สูง).pdf

2107 นักบริหารงานการศึกษา(ต้น-สูง).pdf

2108 นักบริหารงานช่างสุขาภิบาล(ต้น-สูง).pdf

2109 นักบริหารงานการเกษตร(ต้น-สูง).pdf

../add_file/

2101 นักบริหารงานนทั่วไป(ต้น-สูง).pdf

2102 นักบริหารงานการคลัง(ต้น-สูง).pdf

2103 นักบริหารงานช่าง(ต้น-สูง)(1).pdf

2104 นักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม(ต้น-สูง)(1).pdf

2105 นักบริหารงานสวัสดิการสังคม(ต้น-สูง).pdf

2106 นักบริหารงานประปา(ต้น-สูง).pdf

2107 นักบริหารงานการศึกษา(ต้น-สูง).pdf

2108 นักบริหารงานช่างสุขาภิบาล(ต้น-สูง).pdf

2109 นักบริหารงานการเกษตร(ต้น-สูง).pdf


ชื่อไฟล์ :

3101 นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3102 นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3103 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3104 นักจัดการงานทะเบียนและบัตร(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3105 นิติกร(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3106 นักวิชาการคอมพิวเตอร์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3201 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3202 นักวิชาการคลัง(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3203 นักวิชาการจัดเก็บรายได้(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3204 นักวิชาการพัสดุ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3205 นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3206 นักวิชาการพาณิชย์(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3301 นักประชาสัมพันธ์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3302 นักพัฒนาการท่องเที่ยว(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3303 นักวิเทศสัมพันธ์(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3401 นักวิชาการเกษตร(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3402 นักวิชาการประมง(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3403 นักวิชาการสวนสาธารณะ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3501 นักวิทยาศาสตร์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3601 นักวิชาการสาธาณสุข(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3602 พยาบาลวิชาชีพ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3603 นักกายภาพบำบัด(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3604 นักอาชีวบำบัด(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3605 แพทย์แผนไทย(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3606 นักวิชาการสุขาภิบาล(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3607 นักวิชาการสิ่งแวดล้อม(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3608 นักโภชนาการ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3609 นักเทคนิคการแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3610 นักวิทยาศาสตร์การแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3611 นักรังสีการแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3612 เภสัชกร(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3613 ทันตแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3614 นายสัตวแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3615 นายแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3701 วิศวกรโยธา.pdf

3702 สถาปนิก.pdf

3703 นักผังเมือง.pdf

3704 วิศวกรเครื่องกล.pdf

3705 วิศวกรไฟฟ้า_.pdf

3706 วิศวกรสุขาภิบาล.pdf

3707 นักจัดการงานช่าง.pdf

3801 นักพัฒนาชุมชน(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3802 นักสังคมสงเคราะห์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3803 นักวิชาการศึกษา(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3804 บรรณารักษ์(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3805 นักวิชาการวัฒนธรรม(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3806 นักสันทนาการ(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3807 นักพัฒนาการกีฬา(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3808 ภัณฑารักษ์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3809 นักจัดการงานเทศกิจ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3810 นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3101 นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3102 นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3103 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3104 นักจัดการงานทะเบียนและบัตร(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3105 นิติกร(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3106 นักวิชาการคอมพิวเตอร์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3201 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3202 นักวิชาการคลัง(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3203 นักวิชาการจัดเก็บรายได้(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3204 นักวิชาการพัสดุ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3205 นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3206 นักวิชาการพาณิชย์(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3301 นักประชาสัมพันธ์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3302 นักพัฒนาการท่องเที่ยว(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3303 นักวิเทศสัมพันธ์(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3401 นักวิชาการเกษตร(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3402 นักวิชาการประมง(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3403 นักวิชาการสวนสาธารณะ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3501 นักวิทยาศาสตร์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3601 นักวิชาการสาธาณสุข(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3602 พยาบาลวิชาชีพ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3603 นักกายภาพบำบัด(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3604 นักอาชีวบำบัด(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3605 แพทย์แผนไทย(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3606 นักวิชาการสุขาภิบาล(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3607 นักวิชาการสิ่งแวดล้อม(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3608 นักโภชนาการ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3609 นักเทคนิคการแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3610 นักวิทยาศาสตร์การแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3611 นักรังสีการแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3612 เภสัชกร(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3613 ทันตแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3614 นายสัตวแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3615 นายแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3701 วิศวกรโยธา.pdf

3702 สถาปนิก.pdf

3703 นักผังเมือง.pdf

3704 วิศวกรเครื่องกล.pdf

3705 วิศวกรไฟฟ้า_.pdf

3706 วิศวกรสุขาภิบาล.pdf

3707 นักจัดการงานช่าง.pdf

3801 นักพัฒนาชุมชน(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3802 นักสังคมสงเคราะห์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3803 นักวิชาการศึกษา(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3804 บรรณารักษ์(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3805 นักวิชาการวัฒนธรรม(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3806 นักสันทนาการ(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3807 นักพัฒนาการกีฬา(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3808 ภัณฑารักษ์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3809 นักจัดการงานเทศกิจ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3810 นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin"> file_download ดาว์นโหลดไฟล์นี้ ชื่อไฟล์:

3101 นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3102 นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3103 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3104 นักจัดการงานทะเบียนและบัตร(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3105 นิติกร(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3106 นักวิชาการคอมพิวเตอร์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3201 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3202 นักวิชาการคลัง(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3203 นักวิชาการจัดเก็บรายได้(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3204 นักวิชาการพัสดุ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3205 นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3206 นักวิชาการพาณิชย์(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3301 นักประชาสัมพันธ์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3302 นักพัฒนาการท่องเที่ยว(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3303 นักวิเทศสัมพันธ์(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3401 นักวิชาการเกษตร(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3402 นักวิชาการประมง(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3403 นักวิชาการสวนสาธารณะ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3501 นักวิทยาศาสตร์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3601 นักวิชาการสาธาณสุข(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3602 พยาบาลวิชาชีพ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3603 นักกายภาพบำบัด(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3604 นักอาชีวบำบัด(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3605 แพทย์แผนไทย(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3606 นักวิชาการสุขาภิบาล(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3607 นักวิชาการสิ่งแวดล้อม(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3608 นักโภชนาการ(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3609 นักเทคนิคการแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3610 นักวิทยาศาสตร์การแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3611 นักรังสีการแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3612 เภสัชกร(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3613 ทันตแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3614 นายสัตวแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3615 นายแพทย์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3701 วิศวกรโยธา.pdf

3702 สถาปนิก.pdf

3703 นักผังเมือง.pdf

3704 วิศวกรเครื่องกล.pdf

3705 วิศวกรไฟฟ้า_.pdf

3706 วิศวกรสุขาภิบาล.pdf

3707 นักจัดการงานช่าง.pdf

3801 นักพัฒนาชุมชน(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3802 นักสังคมสงเคราะห์(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3803 นักวิชาการศึกษา(ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ).pdf

3804 บรรณารักษ์(ปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ).pdf

3805 นักวิชาการวัฒน