(นายพิทักษ์ โสระมรรค)
รองปลัด อบต.รักษาราชการแทน
ปลัด อบต. ปฏิบัติหน้าที่
นายก อบต.พระเสาร์
อบต.พระเสาร์ Phrasao (SAO) |
|
วัดพระธาตุบุญตา
ที่อยู่ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ต.พระเสาร์ อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร
วัดพระธาตุบุญตาก่อสร้างเมื่อวันที่ 17 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2538 - สร้างเสร็จ พ.ศ. 2540 ฐานล่าง กว้าง 8 เมตร ยาว 8 เมตร ส่วนกลาง กว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 36 เมตร พร้อมฉัตรทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ในพระธาตุบรรจุพระธาตุของพระอรหันต์ทั่วสารทิศ สมัยที่หลวงปู่ธุดงค์ต่างเสด็จมาเอาทองคำหนักประมาณ 30 บาท รวมบรรจุไว้บนยอดพระธาตุเจดีย์ งบประมาณก่อสร้าง 6,000 บาท ปัจจุบัน พระอธิการอนันต์ ธมมธฺโธ
ประวัติของหมู่บ้านปลาปึ่ง และศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าบ้านปลาปึ่ง
มีผู้มาจาก จังหวัดอุบลราชธานี และศรีษะเกษ ได้มาร่วมกันจัดตั้งหมู่บ้านนี้ขึ้นมา ชื่อหมู่บ้านจานเจี้ยว เป็นหมู่บ้านขนาดเล็ก ทางการจึงมีการประกาศคัดเลือกผู้ใหญ่บ้านขึ้น ชาวบ้านจึงเลือกให้ท้าวหลวงสี เป็นผู้นำหมู่บ้านในปี พ.ศ. 2379 ต่อมาได้ครบวาระจึงเลือกให้เท้าหลวงชัย เป็นผู้ใหญ่บ้านแทนตำแหน่งที่ว่าง หลังจากครบรอบวาระ 5 ปี ชาวบ้านก็ได้คัดเลือกเอา นายสงค์ พวงสวัด ต่อมาครบ 5 ปี ชาวบ้านได้เลือก นายคูณ วงษ์กันยา เป็นตำแหน่งที่ว่างลง และปัจจุบันได้เลือก นายสอาด แสงสุด เป็นผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบันและ เปลี่ยนชื่อหมู่บ้านเป็นบ้านปลาปึ่ง หมู่ที่ 2 ตำบลพระเสาร์ หมู่บ้านปลาปึ่งเป็นหมู่บ้านขนาดเล็กและเป็นหมู่บ้านที่มีพื้นป่าสงวนแห่งชาติมากที่สุดในตำบลพระเสาร์และมีสัตว์ป่าอาศัยอยู่มากที่มากที่สุดคือ“ลิง”และเป็นสัตว์ที่หาดูได้อยากปัจจุบัน
ชาวบ้านจึงได้ตั้งศาลเจ้าปู่ลิงขึ้นมา มีการสักการบูชาแก่บุคคลที่ผ่านไปมา ชม “ลิง” ซื้อผลไม้มาเลี้ยงลิง ต่อมาทางองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ได้ว่า สัตว์(ลิง) เป็นสัตว์ที่หาดูได้อยาก ในจังหวัดยโสธร จึงได้ตั้งเป็นศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าขึ้น และจัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งหนึ่งในตำบลพระเสาร์ มีการจัดสรรงบประมาณเลี้ยงอาหารลิง ในช่วงเดือน มีนาคม - เมษายน ของทุกปีเพราะเป็นช่วงฤดูที่สัตว์ป่าหารอาหารได้อยาก
วัดป่าหนองบัวแดง (สาขาที่ 140 ของวัดหนองป่าพง)
ประวัติความเป็นมาโดยย่อของบ้านพระเสาร์
1. อพยพมาจากศรีภูมิ (สุวรรณภูมิ)
ในสมัยนั้นได้ข่าวว่า จังหวัดพนมไพรได้ก่อสร้างองค์พระธาตุขึ้น พระสงฆ์และประชาชนจำนวนมากได้เดินทางผ่านสถานที่หมู่บ้านต่างๆ จุดประสงค์ก็เพื่อนำปัจจัยสิ่งของอันมีค่าดังกล่าวไปสักการบูชาและบรรจุไว้กับองค์พระธาตุ
ด้านการปกครอง
ฐานข้อมูลการส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว
ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
ลำดับที่ | สถานที่ท่องเที่ยว | ช่วงระยะเวลาดำเนินกิจกรรม | ชื่อโครงการ | หมายเหตุ |
1 | พระธาตุบุญตาบ้านพระเสาร์ | เมษายน | โครงการนมัสการพระธาตุบุญตา | |
2 | ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าบ้านปลาปึ่ง | มีนาคม - เมษายน | โครงการจัดโต๊ะจีนลิง |
วัดพระธาตุบุญตา
ที่อยู่ หมู่ที่ 1 บ้านพระเสาร์ ต.พระเสาร์ อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร
วัดพระธาตุบุญตาก่อสร้างเมื่อวันที่ 17 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2538 - สร้างเสร็จ พ.ศ. 2540 ฐานล่าง กว้าง 8 เมตร ยาว 8 เมตร ส่วนกลาง กว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 36 เมตร พร้อมฉัตรทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ในพระธาตุบรรจุพระธาตุของพระอรหันต์ทั่วสารทิศ สมัยที่หลวงปู่ธุดงค์ต่างเสด็จมาเอาทองคำหนักประมาณ 30 บาท รวมบรรจุไว้บนยอดพระธาตุเจดีย์ งบประมาณก่อสร้าง 6,000 บาท ปัจจุบัน พระอธิการอนันต์ ธมมธฺโธ
ประวัติของหมู่บ้านปลาปึ่ง และศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าบ้านปลาปึ่ง
มีผู้มาจาก จังหวัดอุบลราชธานี และศรีษะเกษ ได้มาร่วมกันจัดตั้งหมู่บ้านนี้ขึ้นมา ชื่อหมู่บ้านจานเจี้ยว เป็นหมู่บ้านขนาดเล็ก ทางการจึงมีการประกาศคัดเลือกผู้ใหญ่บ้านขึ้น ชาวบ้านจึงเลือกให้ท้าวหลวงสี เป็นผู้นำหมู่บ้านในปี พ.ศ. 2379 ต่อมาได้ครบวาระจึงเลือกให้เท้าหลวงชัย เป็นผู้ใหญ่บ้านแทนตำแหน่งที่ว่าง หลังจากครบรอบวาระ 5 ปี ชาวบ้านก็ได้คัดเลือกเอา นายสงค์ พวงสวัด ต่อมาครบ 5 ปี ชาวบ้านได้เลือก นายคูณ วงษ์กันยา เป็นตำแหน่งที่ว่างลง และปัจจุบันได้เลือก นายสอาด แสงสุด เป็นผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบันและ เปลี่ยนชื่อหมู่บ้านเป็นบ้านปลาปึ่ง หมู่ที่ 2 ตำบลพระเสาร์ หมู่บ้านปลาปึ่งเป็นหมู่บ้านขนาดเล็กและเป็นหมู่บ้านที่มีพื้นป่าสงวนแห่งชาติมากที่สุดในตำบลพระเสาร์และมีสัตว์ป่าอาศัยอยู่มากที่มากที่สุดคือ“ลิง”และเป็นสัตว์ที่หาดูได้อยากปัจจุบัน
ชาวบ้านจึงได้ตั้งศาลเจ้าปู่ลิงขึ้นมา มีการสักการบูชาแก่บุคคลที่ผ่านไปมา ชม “ลิง” ซื้อผลไม้มาเลี้ยงลิง ต่อมาทางองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ได้ว่า สัตว์(ลิง) เป็นสัตว์ที่หาดูได้อยาก ในจังหวัดยโสธร จึงได้ตั้งเป็นศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าขึ้น และจัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งหนึ่งในตำบลพระเสาร์ มีการจัดสรรงบประมาณเลี้ยงอาหารลิง ในช่วงเดือน มีนาคม - เมษายน ของทุกปีเพราะเป็นช่วงฤดูที่สัตว์ป่าหารอาหารได้อยาก
วัดป่าหนองบัวแดง (สาขาที่ 140 ของวัดหนองป่าพง)
ประวัติความเป็นมาโดยย่อของบ้านพระเสาร์
1. อพยพมาจากศรีภูมิ (สุวรรณภูมิ)
ในสมัยนั้นได้ข่าวว่า จังหวัดพนมไพรได้ก่อสร้างองค์พระธาตุขึ้น พระสงฆ์และประชาชนจำนวนมากได้เดินทางผ่านสถานที่หมู่บ้านต่างๆ จุดประสงค์ก็เพื่อนำปัจจัยสิ่งของอันมีค่าดังกล่าวไปสักการบูชาและบรรจุไว้กับองค์พระธาตุ
ด้านการปกครอง
ฐานข้อมูลการส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว
ตำบลพระเสาร์ อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
ลำดับที่ | สถานที่ท่องเที่ยว | ช่วงระยะเวลาดำเนินกิจกรรม | ชื่อโครงการ | หมายเหตุ |
1 | พระธาตุบุญตาบ้านพระเสาร์ | เมษายน | โครงการนมัสการพระธาตุบุญตา | |
2 | ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ป่าบ้านปลาปึ่ง | มีนาคม - เมษายน | โครงการจัดโต๊ะจีนลิง |
วิสัยทัศน์ (Vision)
“สาธารณูปโภคก้าวไกล ใส่ใจการคมนาคม อุดมด้วยแหล่งน้ำ งามล้ำประเพณี สู่วิถีความพอเพียง”
พันธกิจ (Mission)
ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา 67,68 และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542ดังต่อไปนี้
1.ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้อุปโภค – บริโภค และทางการเกษตร
2.ให้การพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา
3.สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์ และจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น
4.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ ในพื้นที่
5.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ ให้การอบรมอาชีพกลุ่มอาชีพอิสระต่างๆ ในชุมชน
6.ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ และนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ดำเนินชีวิต
7.ส่งเสริมและสนับสนุนด้านสาธารณสุข เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ
8.ส่งเสริมการอนุรักษ์ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่างๆ
9.สนับสนุนส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด
นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ผู้บริหารส่วนตำบลมีนโยบายให้ประชาชนได้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้เพียงพอมีความสงบสุข
มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน โดยมี แนวทางการดำเนินการ ดังนี้
1.ยึดประโยชน์สุขของประชาชน เป็นผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้น จากการบริหารงานที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ถึง แก้ไข ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 และ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
2.ยึดนโยบายของรัฐบาลเพื่อนำนโยบายสำคัญไปสู่การปฏิบัติให้เกิดบังเกิดผลสำเร็จได้แก่การแก้ไขปัญหาความยากจนปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบปัญหายาเสพติด รวมตลอดถึงแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนและตอบสนองความต้องการของประชาชน
3.ยึดนโยบายของจังหวัดแบบบูรณาการมาปรับใช้เป็นแนวปฏิบัติในพื้นที่ของอบต.พระเสาร์เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อประชาชนรวมกันในการสร้างความผาสุกแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้
4.ยึดหลักกฎหมาย ระเบียบ ข้อบัญญัติขององค์กร นโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี และมติของสภา อบต. และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย
จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
จากกรอบความคิด นโยบาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ต่างๆ ที่กฎหมายกำหนด มีแนวคิดร่วมของประชาคมตำบลผสมผสานกับแนวนโยบายขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่กำหนดไว้ ได้นำมาสู่จุดมุ่งหมายการพัฒนา (goals) ขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ดังนี้
1.เพื่อพัฒนาการคมนาคม การสาธารณูปโภค ไฟฟ้าสาธารณะ และคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร
2.เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ให้ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ และมีศักยภาพโอกาสทางเศรษฐกิจ ตามวิถีความพอเพียง
3.เพื่อพัฒนาและรักษาฟื้นฟูซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4.เพื่อพัฒนาการศึกษาให้แก่เด็ก เยาวชน ประชาชนให้ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ
5.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการเมืองการบริหารในระบอบประชาธิปไตย
6.เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ ที่รวดเร็ว มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง
7.เพื่อให้ชุมชนมีการรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
8.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย รู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเข้าสู่สังคมอาเซียน(Asian Social) ต่อไป
9.เพื่อพัฒนาการกีฬาและนันทนาการให้มีมาตรฐานในระดับสากล
10.เพื่อการป้องกันและระงับโรคติดต่อทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมพื้นที่ในเขตตำบล
11.เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และผู้ด้อยโอกาสในสังคมชุมชน
12.เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ประชาชน และห่างไกลจากยาเสพติด
13.เพื่อให้ประชาชนมีน้ำอุปโภคอย่างเพียงพอ และมีมาตรฐาน
14.เพื่อให้มีการบรรเทาสาธารณภัยอย่างครบครัน
15.เพื่อให้ประชาชน หน่วยงานต่างๆ กลุ่มองค์กร ในเขตพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบลให้มีความ เข้มแข็งและเจริญก้าวหน้าต่อไป
วิสัยทัศน์ (Vision)
“สาธารณูปโภคก้าวไกล ใส่ใจการคมนาคม อุดมด้วยแหล่งน้ำ งามล้ำประเพณี สู่วิถีความพอเพียง”
พันธกิจ (Mission)
ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา 67,68 และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542ดังต่อไปนี้
1.ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อใช้อุปโภค – บริโภค และทางการเกษตร
2.ให้การพัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา
3.สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์ และจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น
4.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ ในพื้นที่
5.ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ ให้การอบรมอาชีพกลุ่มอาชีพอิสระต่างๆ ในชุมชน
6.ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ และนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ดำเนินชีวิต
7.ส่งเสริมและสนับสนุนด้านสาธารณสุข เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ
8.ส่งเสริมการอนุรักษ์ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่างๆ
9.สนับสนุนส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด
นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ผู้บริหารส่วนตำบลมีนโยบายให้ประชาชนได้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้เพียงพอมีความสงบสุข
มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ให้คงอยู่อย่างยั่งยืน โดยมี แนวทางการดำเนินการ ดังนี้
1.ยึดประโยชน์สุขของประชาชน เป็นผลลัพธ์สุดท้ายที่เกิดขึ้น จากการบริหารงานที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ถึง แก้ไข ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 และ พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
2.ยึดนโยบายของรัฐบาลเพื่อนำนโยบายสำคัญไปสู่การปฏิบัติให้เกิดบังเกิดผลสำเร็จได้แก่การแก้ไขปัญหาความยากจนปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบปัญหายาเสพติด รวมตลอดถึงแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนและตอบสนองความต้องการของประชาชน
3.ยึดนโยบายของจังหวัดแบบบูรณาการมาปรับใช้เป็นแนวปฏิบัติในพื้นที่ของอบต.พระเสาร์เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อประชาชนรวมกันในการสร้างความผาสุกแก่ประชาชนตามเจตนารมณ์ที่ตั้งไว้
4.ยึดหลักกฎหมาย ระเบียบ ข้อบัญญัติขององค์กร นโยบายรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี และมติของสภา อบต. และหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย
จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
จากกรอบความคิด นโยบาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ต่างๆ ที่กฎหมายกำหนด มีแนวคิดร่วมของประชาคมตำบลผสมผสานกับแนวนโยบายขององค์กรปกครองท้องถิ่นที่กำหนดไว้ ได้นำมาสู่จุดมุ่งหมายการพัฒนา (goals) ขององค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ดังนี้
1.เพื่อพัฒนาการคมนาคม การสาธารณูปโภค ไฟฟ้าสาธารณะ และคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร
2.เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ ให้ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ และมีศักยภาพโอกาสทางเศรษฐกิจ ตามวิถีความพอเพียง
3.เพื่อพัฒนาและรักษาฟื้นฟูซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
4.เพื่อพัฒนาการศึกษาให้แก่เด็ก เยาวชน ประชาชนให้ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ
5.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการเมืองการบริหารในระบอบประชาธิปไตย
6.เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ ที่รวดเร็ว มีมาตรฐานอย่างทั่วถึง
7.เพื่อให้ชุมชนมีการรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
8.เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย รู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเข้าสู่สังคมอาเซียน(Asian Social) ต่อไป
9.เพื่อพัฒนาการกีฬาและนันทนาการให้มีมาตรฐานในระดับสากล
10.เพื่อการป้องกันและระงับโรคติดต่อทุกประเภท ให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมพื้นที่ในเขตตำบล
11.เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และผู้ด้อยโอกาสในสังคมชุมชน
12.เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมแก่ประชาชน และห่างไกลจากยาเสพติด
13.เพื่อให้ประชาชนมีน้ำอุปโภคอย่างเพียงพอ และมีมาตรฐาน
14.เพื่อให้มีการบรรเทาสาธารณภัยอย่างครบครัน
15.เพื่อให้ประชาชน หน่วยงานต่างๆ กลุ่มองค์กร ในเขตพื้นที่ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตำบลให้มีความ เข้มแข็งและเจริญก้าวหน้าต่อไป
องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้ยกฐานะมาจากสภาตำบลพระเสาร์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52 ง หน้า 207 ลำดับที่ 2058 ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2539 โดยมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มีผลในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540) เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็กและได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2551
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนครัวเรือน |
ประชากร |
หมายเหตุ |
||
ชาย |
หญิง |
รวม |
||||
1 |
บ้านพระเสาร์ |
155 |
323 |
299 |
622 |
|
2 |
บ้านปลาปึ่ง |
48 |
100 |
116 |
216 |
|
3 |
บ้านโนนยาง |
121 |
241 |
240 |
481 |
|
4 |
บ้านขาทราย |
52 |
112 |
129 |
241 |
|
5 |
บ้านโนนงิ้ว |
71 |
146 |
132 |
278 |
|
6 |
บ้านหัวดง |
140 |
278 |
262 |
540 |
|
7 |
บ้านแดง |
96 |
225 |
244 |
469 |
|
8 |
บ้านพระเสาร์ |
161 |
333 |
317 |
650 |
|
9 |
บ้านหัวดง |
116 |
236 |
226 |
462 |
|
10 |
บ้านโนนยาง |
77 |
174 |
167 |
341 |
|
รวม |
1,037 |
2,168 |
2,132 |
4,300 |
ลำดับ |
ชื่อ - สกุล |
ตำแหน่ง |
เบอร์โทรศัพท์ |
หมายเหตุ |
|
1 |
นายชัยวัฒน์ |
ตะเคียน |
กำนันตำบลพระเสาร์ |
08 7053 2870 |
|
2 |
นายสมัย |
พาพันธ์ |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1 |
08 7048 1896 |
|
3 |
นายประดิษฐ์ |
วงษ์กันยา |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านปลาปึ่ง หมู่ที่ 2 |
08 7255 9259 |
|
4 |
นายอาทิตย์ |
ประสานทอง |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 3 |
09 0360 7793 |
|
5 |
นายเปลี่ยน |
สุวรรณวงศ์ |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านขาทราย หมู่ที่ 4 |
08 6071 1142 |
|
6 |
นายวาส |
บุญศรี |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 5 |
08 6260 5420 |
|
7 |
นายสมหมาย |
ไชยชาญ |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านแดง หมู่ที่ 7 |
08 8366 9212 |
|
8 |
นายประดิษฐ์ |
โสสะ |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 |
08 3376 8479 |
|
9 |
นายวิทย์ |
วงษ์คำชัย |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านหัวดง หมู่ที่ 9 |
08 4823 6063 |
|
10 |
นายไชยา |
สุราโพธิ์ |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 10 |
09 5184 2959 |
ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) |
จำนวนที่สำรวจทั้งหมด |
ผ่านเกณฑ์ |
ไม่ผ่านเกณฑ์ |
|||||
จำนวน |
ร้อยละ |
จำนวน |
ร้อยละ |
|||||
หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทำและมีรายได้) มี 4 ตัวชี้วัด |
|
|
|
|
|
|||
21. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม มีอาชีพและมีรายได้ |
1,691 คน |
1,691 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|||
22. คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้ |
502 คน |
502 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|||
23. คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี |
830 คร. |
827 คร. |
99.63 |
3 คร. |
0.36 |
|||
24. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
|||
หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด |
|
|
|
|
|
|
||
25. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราว) |
2,926 คน |
2,926 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|
||
26. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ |
2,926 คน |
2,783 คน |
95.11 |
143 คน |
4.89 |
|
||
27. คนอายุ 6 ปีขึ้น ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง |
2,810 คน |
2,445 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|
||
28. คนสูงอายุ ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ |
586 คน |
586 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|
||
29. คนพิการได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ |
74 คน |
74 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|
||
30. คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
6. การเมืองและการบริหาร
6.1 คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) |
จำนวนที่สำรวจทั้งหมด |
ผ่านเกณฑ์ |
ไม่ผ่านเกณฑ์ |
||
จำนวน |
ร้อยละ |
จำนวน |
ร้อยละ |
||
หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด |
|
|
|
|
|
2. เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค |
377 คน |
377 คน |
100.00 |
- คน |
- |
3. เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน |
11 คน |
11 คน |
100.00 |
- คน |
- |
4. ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
5. คนในครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อโรค |
1,784 คร. |
1,784 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
7. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที |
2,810 คร. |
2,810 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) |
จำนวนที่สำรวจทั้งหมด |
ผ่านเกณฑ์ |
ไม่ผ่านเกณฑ์ |
||||
จำนวน |
ร้อยละ |
จำนวน |
ร้อยละ |
||||
หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด |
|
|
|
|
|
||
8. ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
9. ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
10. ครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
11. ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
13. ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
15. ครอบครัวมีความอบอุ่น |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด |
|
|
|
|
|
||
16. เด็กอายุ 3-5 ปีเต็ม ได้รับการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน |
73 คน |
73 คน |
100.00 |
- คน |
- |
||
17. เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี |
343 คน |
343 คน |
100.00 |
- คน |
- |
||
18. เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า |
33 คน |
33 คน |
100.00 |
- คน |
- |
||
19. เด็กจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ |
- คน |
- คน |
100.00 |
- คน |
- |
||
20. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่านเขียน ภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้ |
1,833 คน |
1,833 คน |
100.00 |
- คน |
- |
องค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์ ได้ยกฐานะมาจากสภาตำบลพระเสาร์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2539 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52 ง หน้า 207 ลำดับที่ 2058 ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2539 โดยมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มีผลในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540) เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็กและได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2551
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนครัวเรือน |
ประชากร |
หมายเหตุ |
||
ชาย |
หญิง |
รวม |
||||
1 |
บ้านพระเสาร์ |
155 |
323 |
299 |
622 |
|
2 |
บ้านปลาปึ่ง |
48 |
100 |
116 |
216 |
|
3 |
บ้านโนนยาง |
121 |
241 |
240 |
481 |
|
4 |
บ้านขาทราย |
52 |
112 |
129 |
241 |
|
5 |
บ้านโนนงิ้ว |
71 |
146 |
132 |
278 |
|
6 |
บ้านหัวดง |
140 |
278 |
262 |
540 |
|
7 |
บ้านแดง |
96 |
225 |
244 |
469 |
|
8 |
บ้านพระเสาร์ |
161 |
333 |
317 |
650 |
|
9 |
บ้านหัวดง |
116 |
236 |
226 |
462 |
|
10 |
บ้านโนนยาง |
77 |
174 |
167 |
341 |
|
รวม |
1,037 |
2,168 |
2,132 |
4,300 |
ลำดับ |
ชื่อ - สกุล |
ตำแหน่ง |
เบอร์โทรศัพท์ |
หมายเหตุ |
|
1 |
นายชัยวัฒน์ |
ตะเคียน |
กำนันตำบลพระเสาร์ |
08 7053 2870 |
|
2 |
นายสมัย |
พาพันธ์ |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 1 |
08 7048 1896 |
|
3 |
นายประดิษฐ์ |
วงษ์กันยา |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านปลาปึ่ง หมู่ที่ 2 |
08 7255 9259 |
|
4 |
นายอาทิตย์ |
ประสานทอง |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 3 |
09 0360 7793 |
|
5 |
นายเปลี่ยน |
สุวรรณวงศ์ |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านขาทราย หมู่ที่ 4 |
08 6071 1142 |
|
6 |
นายวาส |
บุญศรี |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 5 |
08 6260 5420 |
|
7 |
นายสมหมาย |
ไชยชาญ |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านแดง หมู่ที่ 7 |
08 8366 9212 |
|
8 |
นายประดิษฐ์ |
โสสะ |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 8 |
08 3376 8479 |
|
9 |
นายวิทย์ |
วงษ์คำชัย |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านหัวดง หมู่ที่ 9 |
08 4823 6063 |
|
10 |
นายไชยา |
สุราโพธิ์ |
ผู้ใหญ่บ้านบ้านโนนยาง หมู่ที่ 10 |
09 5184 2959 |
ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) |
จำนวนที่สำรวจทั้งหมด |
ผ่านเกณฑ์ |
ไม่ผ่านเกณฑ์ |
|||||
จำนวน |
ร้อยละ |
จำนวน |
ร้อยละ |
|||||
หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทำและมีรายได้) มี 4 ตัวชี้วัด |
|
|
|
|
|
|||
21. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม มีอาชีพและมีรายได้ |
1,691 คน |
1,691 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|||
22. คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้ |
502 คน |
502 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|||
23. คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่าคนละ 30,000 บาทต่อปี |
830 คร. |
827 คร. |
99.63 |
3 คร. |
0.36 |
|||
24. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
|||
หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด |
|
|
|
|
|
|
||
25. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราว) |
2,926 คน |
2,926 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|
||
26. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ |
2,926 คน |
2,783 คน |
95.11 |
143 คน |
4.89 |
|
||
27. คนอายุ 6 ปีขึ้น ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง |
2,810 คน |
2,445 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|
||
28. คนสูงอายุ ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ |
586 คน |
586 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|
||
29. คนพิการได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ |
74 คน |
74 คน |
100.00 |
- คน |
- |
|
||
30. คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
6. การเมืองและการบริหาร
6.1 คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลพระเสาร์
ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) |
จำนวนที่สำรวจทั้งหมด |
ผ่านเกณฑ์ |
ไม่ผ่านเกณฑ์ |
||
จำนวน |
ร้อยละ |
จำนวน |
ร้อยละ |
||
หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด |
|
|
|
|
|
2. เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค |
377 คน |
377 คน |
100.00 |
- คน |
- |
3. เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน |
11 คน |
11 คน |
100.00 |
- คน |
- |
4. ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
5. คนในครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อโรค |
1,784 คร. |
1,784 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
7. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที |
2,810 คร. |
2,810 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) |
จำนวนที่สำรวจทั้งหมด |
ผ่านเกณฑ์ |
ไม่ผ่านเกณฑ์ |
||||
จำนวน |
ร้อยละ |
จำนวน |
ร้อยละ |
||||
หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด |
|
|
|
|
|
||
8. ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
9. ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
10. ครัวเรือนมีน้ำใช้ตลอดปี |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
11. ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
13. ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
15. ครอบครัวมีความอบอุ่น |
830 คร. |
830 คร. |
100.00 |
- คร. |
- |
||
หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด |
|
|
|
|
|
||
16. เด็กอายุ 3-5 ปีเต็ม ได้รับการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน |
73 คน |
73 คน |
100.00 |
- คน |
- |
||
17. เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี |
343 คน |
343 คน |
100.00 |
- คน |
- |
||
18. เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า |
33 คน |
33 คน |
100.00 |
- คน |
- |
||
19. เด็กจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ |
- คน |
- คน |
100.00 |
- คน |
- |
||
20. คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่านเขียน ภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้ |
1,833 คน |
1,833 คน |
100.00 |
- คน |
- |
(นายพิทักษ์ โสระมรรค)
รองปลัด อบต.รักษาราชการแทน
ปลัด อบต. ปฏิบัติหน้าที่
นายก อบต.พระเสาร์